Page 44 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        30

                          2.2 ความกวางทรงพุมของมันสําปะหลัง

                          ผลการศึกษาความกวางของทรงพุมมันสําปะหลังจากกาวัดเสนผานศูนยกลางของทรงพุม พบวาความ
                   กวางของทรงพุมในตํารับการทดลองที่ 2 วิธีเกษตรกรกับน้ําหมักชีวภาพ ใสปุยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50

                   กิโลกรัมตอไร และสารเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตพืช (ไคโตซาน) อัตรา 50 กิโลกรัมตอไร รวมกับน้ําหมักชีวภาพ

                   อัตรา 5 ลิตรตอไร มีความกวางของทรงพุมสูงที่สุด เทากับ 106.8 เซนติเมตร รองลงมาคือตํารับการทดลองที่
                   3, 1, 4 และตํารับการทดลองที่ 5 มีความกวางของทรงพุมเทากับ 106.1, 105.8, 103.8 และ 100.9

                   เซนติเมตร ตามลําดับ ทุกตํารับการทดลองมีความกวางของทรงพุมไมแตกตางกันมากนัก ดังแสดงในภาพที่ 2








































                   ภาพที่ 2 กราฟแสดงความกวางทรงพุมของมันสําปะหลัง

                          เมื่อทําการเปรียบเทียบตํารับการทดลองที่ 1 กับตํารับการทดลองอื่น ๆ พบวา ไมมีความแตกตาง

                   อยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับทุกตํารับการทดลอง การเปรียบเทียบตํารับการทดลองที่ 2 ตํารับการทดลอง
                   ที่ 3 ตํารับการทดลองที่ 4 และตํารับการทดลองที่ 5 ก็พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติเชนกัน แสดง

                   ดังตารางที่ 8
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49