Page 54 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       40


                                                         บทที่ 4

                                                      ผลการศึกษา

               4.1 การวิเคราะห์สภาพพื้นที่

                    1. การประเมินคุณภาพที่ดิน
                      การจ าแนกความเหมาะสมของที่ดิน (Land  suitability  classification)  จากหลักการของ FAO
               (1983) ได้จ าแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินเป็น 2 กลุ่มคือ 1) กลุ่มที่เหมาะสม (S : Suitability) 2) กลุ่ม

               ที่ไม่เหมาะสม (N : Not suitability) และจาก 2 กลุ่มได้แบ่งย่อยออกเป็น 4 ชั้น (Class) ดังนี้
                              S1 : หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)
                              S2 : หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)

                              S3 : หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (Marginally suitable)
                              N : หมายถึง ชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable)
                       วิธีการจัดและประเมินคุณภาพที่ดินหรือประเมินความเหมาะสมของที่ดิน ใช้การประเมินจากกลุ่มของ
               คุณลักษณะที่ดินที่มีข้อจ ากัดรุนแรงที่สุด โดยวิธีการพิจารณาดูว่าคุณภาพที่ดินตัวใดบ้างในหน่วยที่ดินที่
               ต้องการศึกษามีข้อจ ากัดที่รุนแรงที่สุดที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งใช้ระดับความเหมาะสมของ

               คุณภาพที่ดินตัวนั้นเป็นตัวแทนความเหมาะสมของที่ดินรวมของหน่วยที่ดินที่ต้องการศึกษา (บัณฑิตและค ารณ
               , 2542)
                       ผลการประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพ พื้นที่ด าเนินการ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ต าบลหินแก้ว อ าเภอ

               ท่าแซะ จังหวัดชุมพร มีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 6)
                       1.1 ไม่ค่อยเหมาะสม ส าหรับปลูกปาล์มน้ ามัน มะม่วง ลองกอง เงาะ ทุเรียน มังคุด และกาแฟ มี
               ข้อจ ากัดเกี่ยวกับ สภาวะการหยั่งรากลึกของรากพืช ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 1, 2, 3, 5, 6 และ7 มีข้อจ ากัด
               เกี่ยวกับ ความเสียหายจากการกัดกร่อน และศักยภาพในการใช้เครื่องจักรกล ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 4, 8

               และ 9 เหมาะสมปานกลางกลางส าหรับปลูกปาล์มน้ ามัน มะม่วง ลองกอง เงาะ ทุเรียน มังคุด และกาแฟ มี
               ข้อจ ากัดเกี่ยวกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 13, 14 และ15
                       1.2 เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกยางพารา มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร
               พืช ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 1, 2, 5, 6, 13, 14 และ15 มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับความเสียหายจากการกัดกร่อน

               และศักยภาพในการใช้เครื่องจักรกล ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 3, 7 และ16 และไม่ค่อยเหมาะสมปลูกยางพารา
               มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับสภาวะการหยั่งรากลึกของรากพืช ได้แก่หน่วยแผนที่ดินที่ 10 มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับ ความ
               เสียหายจากการกัดกร่อน และศักยภาพในการใช้เครื่องจักรกล ได้แก่หน่วยแผนที่ดินที่ 11 และ12 และไม่ค่อย
               เหมาะสมปลูกยางพารา มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับความเสียหายจากการกัดกร่อน และศักยภาพในการใช้

               เครื่องจักรกล ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 4, 8 และ9
                       1.3 เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกส้มโอ มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช
               ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 13, 14 และ15 มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับสภาวะการหยั่งรากลึกของรากพืช ได้แก่หน่วยแผน

               ที่ดินที่ 1, 2, 5 และ6 มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับความเสียหายจากการกัดกร่อน และศักยภาพในการใช้เครื่องจักรกล
               ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 16 ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกส้มโอ มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับ ความเสียหายจากการกัด
               กร่อน และศักยภาพในการใช้เครื่องจักรกล ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 3, 4, 7, 8 และ9
                       1.4 เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกสับปะรด มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร
               พืช ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ 1, 5, 13 และ14 มีข้อจ ากัดเกี่ยวกับ ความเสียหายจากการกัดกร่อน ได้แก่ หน่วย
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59