Page 56 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       42


                 2. การประเมินปริมาณน้ าไหลบ่า

                       การประเมินค่าสัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า กายภาพ พื้นที่ด าเนินการ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ต าบลหินแก้ว
               อ าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ได้แบ่ง พื้นที่รับน้ าออกเป็น 7 ส่วนได้แก่พื้นที่ A, B, C, D, E, F และG (ภาพที่6)

               ในพื้นที่มีปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย เท่ากับ 1,871.85 มิลลิเมตรต่อปี (พ.ศ.2546-2558) ค่าความรุนแรงของน้ าฝน
               เท่ากับ 70 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งการค่าสัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า ในแต่ละพื้นที่รับน้ าได้ แสดงดังตารางที่ 7
               และ ภาพที่ 6


               ตารางที่ 7 การประเมินค่าสัมประสิทธ์ของน้ าไหลบ่าพื้นที่ด าเนินการ

                                                                   พื้นที่รับน้ า
                  ค่าสัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า
                                               A       B       C       D       E       F       G

                 ก. ความรุนแรงของน้ าฝน      0.20    0.20     0.20    0.20    0.20    0.20    0.20
                 ข. ลักษณะพื้นที่            0.10    0.10     0.10    0.10    0.05    0.05    0.05
                 ค. การเก็บกักน้ าของผิวดิน   0.05   0.05     0.05    0.05    0.05    0.05    0.05
                 ง. การซึมซาบของน้ า         0.10    0.10     0.10    0.10    0.10    0.10    0.10
                 จ. พืชคลุมดิน               0.10    0.10     0.10    0.10    0.10    0.10    0.10

                           รวม               0.55  0.55  0.55  0.55  0.55  0.50  0.50

               ที่มา: ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 11  (2562)


               สามารถสรุปได้ดังนี้
                       1.  พื้นที่รับน้ า A  มีเนื้อที่ 1,341 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีความลาดชันมากกว่า 20
               เปอร์เซ็นต์ พื้นที่ไม่มีการอนุรักษ์ดินและน้ า รวมถึงมีการปลูกพืช เช่น ปาล์มน้ ามัน ยางพาราและไม้ผล เป็นปุา
               โปร่งคลุมดิน พบว่ามีปริมาณน้ าไหลบ่าปานกลาง มีปริมาณน้ าไหลบ่าเท่ากับ 220,893.27 ลูกบาศก์เมตร และ
               อัตราการไหลบ่าของน้ า เท่ากับ 22.95 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

                       2. พื้นที่รับน้ า B มีเนื้อที่ 295 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีความลาดชันมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์
               พื้นที่ไม่มีการอนุรักษ์ดินและน้ า รวมถึงมีการปลูกพืช เช่น ปาล์มน้ ามัน ยางพารา และไม้ผล เป็นปุาโปร่งคลุม
               ดิน พบว่ามีปริมาณน้ าไหลบ่าปานกลาง มีปริมาณน้ าไหลบ่าเท่ากับ 48,593.23 ลูกบาศก์เมตร และอัตราการ

               ไหลบ่าของน้ า เท่ากับ 5.05 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
                       3.  พื้นที่รับน้ า C  มีเนื้อที่ 1,138 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีความลาดชันมากกว่า 20
               เปอร์เซ็นต์ พื้นที่ไม่มีการอนุรักษ์ดินและน้ า รวมถึงมีการปลูกพืช เช่น ปาล์มน้ ามัน ยางพารา และไม้ผล เป็นปุา
               โปร่งคลุมดิน พบว่ามีปริมาณน้ าไหลบ่าปานกลาง มีปริมาณน้ าไหลบ่าเท่ากับ 187,454.55 ลูกบาศก์เมตร และ

               อัตราการไหลบ่าของ เท่ากับ 19.47 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
                       4. พื้นที่รับน้ า D มีเนื้อที่ 263 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีความ
               ลาดชันมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่ไม่มีการอนุรักษ์ดินและน้ า รวมถึงมีการปลูกพืช เช่น ปาล์มน้ ามัน
               ยางพารา และไม้ผล เป็นปุาโปร่งคลุมดิน พบว่า มีปริมาณน้ าไหลบ่าปานกลาง มีปริมาณน้ าไหลบ่าเท่ากับ

               43,322.10 ลูกบาศก์เมตร และอัตราการไหลบ่าของน้ า เท่ากับ 4.50 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
                       5.  พื้นที่รับน้ า E  มีเนื้อที่ 964 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาเล็กๆ เฉลี่ย ความลาดชัน 10- 20
               เปอร์เซ็นต์ ลักษณะพื้นผิวดินเป็นหุบ เป็นห้วยเล็กๆ มีน้ าไหลบ่าให้เห็น พื้นที่ไม่มีการอนุรักษ์ดินและน้ า รวมถึง
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61