Page 34 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       20


               2.8  สภาวะเศรษฐกิจและสังคม
                    1. ข้อมูลทั่วไปของเกษตรกร

                       1.1 ลักษณะทั่วไปของเกษตรกร จากผลการส ารวจพบว่า เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง 31 คน มีอายุเฉลี่ย
               53.15 ปี นับถือศาสนาพุทธทั้งหมด การศึกษาจบชั้นประถมศึกษาร้อยละ 67.64 รองลงมาจบมัธยมศึกษาร้อย
               ละ 19.36 ปวช.ร้อยละ 6.45 ปวส.ร้อยละ 6.45
                       1.2  ขนาดครัวเรือนและสถานภาพการท างาน ขนาดครัวเรือนมีสมาชิกโดยเฉลี่ย 4.26 คน มี

               สถานภาพการท างานเฉลี่ยครัวเรือนละ  2.68 คนหรือเฉลี่ยร้อยละ 62.91 เป็นสมาชิกที่ท างานในการเกษตร
               เฉลี่ยครัวเรือนละ 2.53 คนหรือเฉลี่ยร้อยละ 59.39 ท างานนอกการเกษตรเฉลี่ยครัวเรือนละ 0.15 คนหรือ
               เฉลี่ยร้อยละ 3.52 และมีสถานภาพไม่ได้ท างานเฉลี่ยครัวเรือนละ 1.58 คนหรือเฉลี่ยร้อยละ 37.09 เนื่องจาก
               ก าลังเรียนเฉลี่ย 1.10 คนหรือเฉลี่ยร้อยละ 25.82 เป็นเด็กเล็กเฉลี่ย 0.32 คนหรือเฉลี่ยร้อยละ 7.51 คนชรา

               เฉลี่ย 0.16 คนหรือเฉลี่ยร้อยละ 3.76
                       1.3 การถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินของเกษตรกร
                         1.3.1 การถือครองที่ดินจากการส ารวจพบว่าเกษตรกรมีที่ดินเป็นของตนเองทั้งหมด ส่วนใหญ่มี
               ขนาดพื้นที่ในช่วง 11-20 ไร่เฉลี่ยร้อยละ 36.96 รองลงมาช่วง 1-10 ไร่เฉลี่ยร้อยละ 32.61 ช่วง 21-30 ไร่

               เฉลี่ยร้อยละ 17.39  ช่วง 31-40 ไร่เฉลี่ยร้อยละ 8.70 ช่วง 41 ไร่ขึ้นไปเฉลี่ยร้อยละ 4.35 เกษตรกรส่วนใหญ่ที่
               มีหนังสือส าคัญในที่ดินเป็น ส.ป.ก.4-01 เฉลี่ยร้อยละ 61.91 นส.3 ก เฉลี่ยร้อยละ 7.14 และมีเกษตรกรบาง
               ครัวเรือนมีพื้นที่ท าการเกษตรไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินท ากินเฉลี่ยร้อยละ 30.95

                          1.3.2 การใช้ประโยชน์ที่ดินเฉลี่ยครัวเรือนละ 29.95ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันเฉลี่ยครัวเรือน
               ละ 16.94 ไร่หรือเฉลี่ยร้อยละ 56.56 รองลงมาปลูกยางพาราเฉลี่ยครัวเรือนละ 11.45 ไร่หรือเฉลี่ยร้อยละ
               38.23 ที่อยู่อาศัยเฉลี่ย ครัวเรือนละ 1.56 ไร่หรือเฉลี่ยร้อยละ 5.21
                       1.4 ค่าใช้จ่ายในการครองชีพของเกษตรกรเฉลี่ยครัวเรือนละ 88,500.00 บาท
                       1.5 ภาวะหนี้สินของเกษตรกรพบเฉลี่ยร้อยละ 67.74 ของครัวเรือนเกษตรกรที่ท าการส ารวจทั้งหมด

               ส่วนใหญ่เป็นหนี้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เฉลี่ยร้อยละ 20.56 เฉลี่ยครัวเรือนละ
               35,000 บาท รองลงมากองทุนหมู่บ้านเฉลี่ยร้อยละ 15.73  เฉลี่ยครัวเรือนละ 7,000.00 บาท กองทุนเงินล้าน
               เฉลี่ยร้อยละ 12.10 เฉลี่ยครัวเรือนละ 5,800.00 บาท กองทุนสัจจะเฉลี่ยร้อยละ 10.89 เฉลี่ยครัวเรือนละ

               5,500.00 บาท ออมทรัพย์เฉลี่ยร้อยละ 8.46 เฉลี่ยครัวเรือนละ 6,500.00 บาท
                       1.6    ปัญหาในการครองชีพของเกษตรกร ส่วนใหญ่มีปัญหารายได้ไม่เพียงพอรายจ่าย ขาด
               สาธารณูปโภค เช่น น้ าดื่ม และสุขภาพไม่ดี ส าหรับปัญหาอื่นๆ มีเพียงเล็กน้อย เช่น ปัญหาทรัพยากร
               สิ่งแวดล้อม ปัญหาด้านสังคม/ความปลอดภัย เกษตรกรบางครัวเรือนไม่มีปัญหาด้านการครองชีพ เนื่องจาก

               เกษตรกรมีความพึงพอใจกับสภาพที่เป็นอยู่ มีการด าเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
                       1.7 ความคิดเห็นของเกษตรกรต้องการให้หน่วยงานของรัฐเข้าช่วยเหลือ เกษตรกรต้องการให้ภาครัฐ
               ช่วยเหลือด้านการประกอบอาชีพใกล้เคียงกัน โดยต้องการให้รัฐช่วยเหลืออันดับแรก คือ การประกันราคา
               สินค้าเกษตร รองลงมาท าทางล าเลียงในไร่นา หาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ า จัดท าระบบโครงสร้างยกร่องปลูกพืช

               จัดหาปัจจัยการผลิตในราคายุติธรรม จัดสร้างสระน้ าในไร่นา ให้ค าแนะน าจัดอบรมให้ความรู้ และส่งเสริม
               แนะน าเกี่ยวกับการปลูกพืช การจัดการดิน การปรับปรุงบ ารุงดิน วิธีการใส่ปุ๋ย ส่งเสริมการเลี้ยงปลา เพื่อเพิ่ม
               ผลผลิตทางการเกษตร ส าหรับเกษตรกรที่ไม่มีความต้องการให้หน่วยงานของรัฐเข้าช่วยเหลืออาจสืบ
               เนื่องมาจากสภาพพื้นที่ถือครองของตนเองไม่เหมาะสมที่จะด าเนินการหรือไม่มีความต้องการ

                       1.8 ความคิดเห็นของเกษตรกรเกี่ยวกับการใช้ที่ดินในปัจจุบัน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39