Page 9 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                         2



                   1.2 วัตถุประสงค์
                          1.2.1 เพื่อศึกษาคุณสมบัติของปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ าเสีย

                          1.2.2 เพื่อเป็นแนวทางในการผลิตปุ๋ยหมักจากกากตะกอนน้ าเสียภายในชุมชน
                          1.2.3 เพื่อเป็นการลดปัญหาการก าจัดกากตะกอนน้ าเสีย


                   1.3 ขอบเขตการด้าเนินงาน

                          ด าเนินการศึกษาการผลิตปุ๋ยหมักจากกากตะกอนน้ าเสีย ซึ่งเป็นกากตะกอนน้ าเสียจากบ่อบ าบัด
                   น้ าเสียเทศบาลเมืองป่าตอง อ าเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต โดยศึกษาขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมัก และวิเคราะห์
                   สมบัติทางเคมี และระดับธาตุอาหารพืชของปุ๋ยหมักจากกากตะกอนน้ าเสีย


                   1.4 ระยะเวลาและสถานที่ด้าเนินงาน

                          ระยะเวลาด าเนินงาน    ท าการศึกษาระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2560 ถึงพฤษภาคม 2561
                          สถานที่ด าเนินงาน      บ่อบ าบัดน้ าเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อ าเภอกะทู้  จังหวัดภูเก็ต
                                                สถานีพัฒนาที่ดินภูเก็ต อ าเภอถลาง  จังหวัดภูเก็ต


                   1.5 ขั นตอนและวิธีด้าเนินงาน

                          1.5.1 ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลกระบวนการต่างๆ ในการบ าบัดน้ าเสีย การก าจัดกากตะกอนน้ า
                   เสียวิธีต่างๆ ทฤษฎี กฎระเบียบในการก าจัดกากตะกอนน้ าเสีย  การท าปุ๋ยหมักและคุณภาพปุ๋ยหมักจาก
                   กากตะกอนน้ าเสียจากงานวิจัยที่ผ่านมา  และด าเนินการเรียบเรียงให้เป็นระบบ จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม

                   เอกสารวิชาการ
                          1.5.2 ศึกษาระดับธาตุอาหารพืชในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ าเสีย เพื่อเป็นแนวทางในการ
                   ลดปัญหาเกี่ยวกับการก าจัดกากตะกอนน้ าเสียและเป็นการน าวัสดุเหลือใช้เหล่านี้มาใช้ประโยชน์
                   ด าเนินการ 3  ขั้นตอน ดังนี้
                          ขั้นตอนที่ 1 ด าเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างกากตะกอนน้ าเสียและน ามาวิเคราะห์เพื่อหาปริมาณธาตุ

                   อาหารพืชและสมบัติทางเคมีในกากตะกอนน้ าเสีย ได้แก่ ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ค่าการน าไฟฟ้า
                   (EC) อินทรียวัตถุ (OM)  ไนโตรเจน (N)  ฟอสฟอรัส (P)  และโพแทสเซียม (K)
                   ขั้นตอนที่ 2 ผลิตปุ๋ยหมักจากกากตะกอนน้ าเสีย จ านวน 4 ต ารับ ได้แก่

                         1) กากตะกอนน้ าเสีย 100 เปอร์เซ็นต์
                          2) กากตะกอนน้ าเสีย   75 เปอร์เซ็นต์   ร่วมกับ  ขุยมะพร้าว 25 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก
                          3) กากตะกอนน้ าเสีย   50 เปอร์เซ็นต์    ร่วมกับ  ขุยมะพร้าว 50 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก
                          4) กากตะกอนน้ าเสีย   25 เปอร์เซ็นต์    ร่วมกับ  ขุยมะพร้าว 75 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก

                          โดยทุกต ารับ ท าการผลิตปุ๋ยหมักจากกากตะกอนน้ าเสียร่วมกับยูเรีย 200 กรัม มูลสัตว์ 20
                   กิโลกรัมและสารเร่งซุปเปอร์ พด. 1 จ านวน 1 ซอง
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14