Page 10 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                         3



                          ขั้นตอนที่ 3  เก็บตัวอย่างปุ๋ยหมักที่ย่อยสลายสมบูรณ์แล้วส่งวิเคราะห์สมบัติทางเคมี ได้แก่
                   อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N ratio)  ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ค่าการน าไฟฟ้า (EC)  และ
                   ปริมาณธาตุอาหารพืช ได้แก่ ไนโตรเจน (N)  ฟอสฟอรัส (P)  โพแทสเซียม (K)  แคลเซียม (Ca)
                   แมกนีเซียม (Mg)  ซัลเฟอร์ (S) และอินทรียวัตถุ (OM)

                          วิธีการวิเคราะห์กากตะกอนน้ าเสียและปุ๋ยหมักจากกากตะกอนน้ าเสีย มีรายละเอียดการวิเคราะห์
                   ทางห้องปฏิบัติการ ตามคู่มือของส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2547) ดังนี้
                          ความเป็นกรดเป็นด่าง โดยใช้เครื่องมือวัดค่าปฏิกิริยาของดิน (pH meter)   อัตราส่วนกาก
                   ตะกอนน้ าเสียต่อน้ า เท่ากับ 1:4 อัตราส่วนปุ๋ยหมักต่อน้ า เท่ากับ 1:4

                          ค่าการน าไฟฟ้า โดยใช้เครื่องมือวัดค่าการน าไฟฟ้า อัตราส่วนของตะกอนน้ าเสียต่อน้ า เท่ากับ 1:
                   10 อัตราส่วนปุ๋ยหมักต่อน้ า เท่ากับ 1:10
                          อินทรียวัตถุ (organic matter) โดยวิธี Walkley and Black method  (Walkley and Black,
                   1947)

                          ไนโตรเจนทั้งหมด ใช้วิธี Kjeldahl method (Chapman and Pratt,1961)
                          ฟอสฟอรัสทั้งหมด ย่อยสลายด้วยกรดไนตริก:เปอร์คลอริก (2:1) ท าให้เกิดสีด้วยวิธี
                   Vanadomolybdate (Barton) method และวัดความเข้มข้นด้วยเครื่อง Spectrophotometer

                          โพแทสเซียมทั้งหมด ย่อยสลายด้วยกรดไนตริก:เปอร์คลอริก (2:1) วัดความเข้มข้นด้วยเครื่อง
                   Flame photometer
                          แคลเซียมทั้งหมด ย่อยสลายด้วยกรดไนตริก:เปอร์คลอริก (2:1) วัดความเข้มข้นด้วยเครื่อง
                   Atomic absorption Spectrophotometer
                          แมกนีเซียมทั้งหมด ย่อยสลายด้วยกรดไนตริก:เปอร์คลอริก (2:1) วัดความเข้มข้นด้วยเครื่อง

                   Atomic absorption Spectrophotometer
                          ก ามะถันทั้งหมด ย่อยสลายด้วยกรดไนตริก:เปอร์คลอริก (2:1) ท าให้เกิดตะกอนด้วยวิธี
                   Turbidimetric method แลวัดความขุ่นด้วยเครื่อง Spectrophotometer

                          1.5.3 สรุปและรายงานผลการด าเนินงาน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15