Page 8 - การเปรียบเทียบชนิดปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวสังข์หยดในกลุ่มชุดดินที่ 6 จังหวัดพัทลุง
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                   ชื่อโครงการ         การเปรียบเทียบชนิดปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวสังข์หยดในกลุ่มชุดดินที่ 6
                                       จังหวัดพัทลุง
                                            The Comparison of Suitable Fertilizer types for Sangyod  Rice

                                                Cultivation on Soil Group no.6  at Phatthalung Province
                   ทะเบียนวิจัยเลขที่    -
                   กลุ่มชุดดินที่      6  ชุดดินแกลง  Soil group number 6, Klaeng  series  (Kl)

                   ผู้ด าเนินการ       นางสาวนิภาพร  ชูกิจ    Ms. Nipaporn   Chookit
                   ผู้ร่วมด าเนินการ    นายชวพล  อ่อนเรือง    Mr. Chavapol  Onruang

                                       นายวิโรจน์  ปิ่นพรม    Mr. Viroj  Pinprom
                                       นายกมล  อินกันฑ์       Mr. Kamon  Ingun


                                                          บทคัดย่อ


                            ข้าวสังข์หยด เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่มีชื่อเสียงของจังหวัดพัทลุง แต่เกษตรกรที่ปลูกข้าว
                   สังข์หยดนิยมใส่ปุ๋ยเคมีมาก ท าให้ต้นทุนการผลิตสูง การใส่ปุ๋ยเคมีในปริมาณเพียงที่พืชต้องการเพื่อใช้ใน
                   การเจริญเติบโตจะสามารถลดต้นทุนลงได้  ดังนั้นจึงได้ศึกษาเปรียบเทียบชนิดปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูก
                   ข้าวสังข์หยด ในกลุ่มชุดดินที่ 6  ท าการทดลองในพื้นที่หมู่ที่ 6 ต าบลตะแพน อ าเภอศรีบรรพต จังหวัด

                   พัทลุง ระหว่าง พ.ศ. 2557-2560 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสมบัติทางเคมีของดิน การเจริญเติบโต
                   และผลผลิตของข้าวสังข์หยด และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์
                   ประกอบด้วย 4 ต ารับ 5 ซ้ า คือ 1) วิธีเกษตรกร (ปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ และ  46-0-0
                   อัตรา 10  กิโลกรัมต่อไร่)   2)  ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง (ปุ๋ยเคมีสูตร
                   16-20-0  อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่  46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ และ 0-0-60 อัตรา 7 กิโลกรัมต่อไร่)

                   ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ ซุปเปอร์ พด.2 3)  ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า (ค านวณ
                   ปริมาณธาตุอาหารให้เทียบเท่าอัตราปุ๋ยเคมีที่แนะน า โดยใช้ไนโตรเจนเป็นหลัก) ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ า
                   หมักชีวภาพ ซุปเปอร์ พด.2 และ 4) ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่  ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตรา

                   ครึ่งหนึ่งของค าแนะน าตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง (ปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 5 กิโลกรัม
                   ต่อไร่  46-0-0 อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ และ 0-0-60 อัตรา 3.5 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมัก
                   ชีวภาพ ซุปเปอร์ พด.2 จากการทดลองทั้ง 3 ปี พบว่า สมบัติทางเคมีของดิน ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของ
                   ดิน ในวิธีเกษตรกรสูงกว่าต ารับอื่นๆ  เนื่องจากไม่ได้ใช้โดโลไมท์ปรับสภาพดินก่อนการทดลอง  ปริมาณ

                   อินทรียวัตถุในดินในต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยชีวภาพ พด.12 เพิ่มขึ้น ปริมาณฟอสฟอรัส
                   ที่เป็นประโยชน์ ในต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและปุ๋ยชีวภาพ พด.12 จะมีปริมาณสูงกว่าต ารับ
                   อื่นๆ เนื่องจากวัตถุดิบในท้องถิ่นที่น ามาใช้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงมีปริมาณฟอสฟอรัสสูง ด้านการ
                   เจริญเติบโต พบว่า ต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ร่วมกับปุ๋ย

                   พืชสด และน้ าหมักชีวภาพ ซุปเปอร์ พด.2 มีความสูงของต้นข้าว จ านวนต้นต่อกอ จ านวนรวงต่อกอและ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13