Page 214 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 214

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              ผ1-1







                                      โครงการก่อสร้างแหล่งน้้าในไร่นานอกเขตชลประทาน


                  1. หลักการและเหตุผล

                             ประเทศไทยมีพื้นที่ท าการเกษตรประมาณ 151.93 ล้านไร่ ซึ่งภายใต้พื้นที่การเกษตรดังกล่าวเป็น
                  พื้นที่ที่มีระบบชลประทานประมาณ 29.34 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 19.31 ของพื้นที่ท าการเกษตร ส่วนพื้นที่ที่

                  เหลือ 122.58 ล้านไร่ หรือร้อยละ 80.96 เป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน  นอกจากนี้ภายใต้พื้นที่เกษตรกรรมที่

                  มีการพัฒนาระบบชลประทานแล้ว ยังมีพื้นที่ชลประทานบางส่วนที่มีปัญหาการขาดแคลนน้ า โดยไม่สามารถมี
                  น้ าเพื่อการเกษตรได้ตลอดทั้งปี ขาดแคลนน้ าในฤดูแล้ง และน้ าเป็นปัจจัยส าคัญในระบบการผลิตทางการเกษตร

                  และเป็นสิ่งจ าเป็นในด้านอุปโภคและบริโภค ส่งผลต่อความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศ ถึงแม้ว่าในอดีตจนถึง
                  ปัจจุบัน  กรมพัฒนาที่ดินจะได้ด าเนินการก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นาไปแล้วบางส่วน แต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ

                  ของเกษตรกร ดังนั้นคณะรัฐมนตรีจึงได้อนุมัติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์โดยกรมพัฒนาที่ดิน จัดท าโครงการ

                  แหล่งน้ าในไร่นา นอกเขตชลประทาน มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บกักน้ าไว้ใช้ในพื้นที่ และเพิ่ม
                  รายได้ให้เกษตรกร โดยขุดสระเก็บน้ าประจ าไร่นาขนาด 1,260 ลูกบาศก์เมตร เกษตรกรมีส่วนออกค่าใช้จ่าย

                  2,500 บาท/บ่อ

                  2. วัตถุประสงค์


                             2.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บน้ าไว้ใช้ในพื้นที่ท าการเกษตรนอกเขตชลประทาน และใน
                  พื้นที่ที่ระบบส่งน้ าไปไม่ถึง บรรเทาปัญหาภัยแล้ง  โดยการขุดสระน้ าในไร่นา


                             2.2 เพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได้ให้แก่เกษตรกร

                  3. พื้นที่ด้าเนินการ

                             ด าเนินการในพื้นที่ประสบปัญหาภัยแล้ง และพื้นที่ขาดแคลนน้ าเพื่อการเกษตร


                  4. แนวทางการด้าเนินงาน

                             ขุดสระน้ าขนาด 1,260 ลบ.ม. ในพื้นที่เกษตรกร โดยเกษตรกรมีส่วนร่วมในการสนับสนุน

                  ค่าใช้จ่ายในการด าเนินการขุดสระน้ า 2,500 บาท/บ่อ ด าเนินการโดย

                             4.1 ส้ารวจและและรวบรวมรายชื่อเกษตรกรที่มีความต้องการสระน้้า

                             กรมพัฒนาที่ดิน จัดประชุมชี้แจงสถานีพัฒนาที่ดินทั่วประเทศ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านสื่อต่างๆ

                  เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ ทั้งส่วนกลาง และท้องถิ่น และ บน Internet  (www.ldd.go.th)  รวมทั้ง
                  ประสานกับหน่วยงานในพื้นที่ เช่น อบต. หมอดินอาสา และผู้น าท้องถิ่น เพื่อชี้แจงท าความเข้าใจให้ความรู้กับ

                  เกษตรกร และส ารวจความต้องการของเกษตรกรที่มีความสนใจให้แสดงความจ านงเข้าร่วมโครงการด้วยความ





                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219