Page 24 - การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกประเภทที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ถาวรนอกเขตป่าสงวนแห่งชาติจังหวัดชัยนาท
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                       14


                      2.4 หลักเกณฑ์กำรจ ำแนกประเภทที่ดิน

                             หลักเกณฑ์กำรพิจำรณำกำรจ ำแนกประเภทที่ดิน  หมำยถึง หลักเกณฑ์ในกำรพิจำรณำจ ำแนก
                      ประเภทที่ดิน ออกเป็น 2 ประเภท คือ พื้นที่ที่ควรเก็บไว้เป็นป่ำไม้ถำวร และพื้นที่ที่ควรจ ำแนกออกเป็น

                      ที่ท ำกินหรือใช้ประโยชน์อย่ำงอื่น (กรมพัฒนำที่ดิน 2559) ตำมพระรำชบัญญัติพัฒนำที่ดิน พ.ศ. 2526
                      ต่อมำได้ถูกยกเลิกแก้ไขเพิ่มเติมตำมพระรำชบัญญัติพัฒนำที่ดิน พ.ศ. 2551 ได้ก ำหนดให้คณะกรรมกำร
                      พัฒนำที่ดิน มีอ ำนำจหน้ำที่ในกำรก ำหนดกำรจ ำแนกประเภทที่ดินและเสนอขอรับควำมเห็นชอบต่อ
                      คณะรัฐมนตรีเพื่อให้หน่วยงำนของรัฐมีหน้ำที่รับไปปฏิบัติ มำตรำ 9(1) คณะกรรมกำรพัฒนำที่ดินได้เคย

                      ก ำหนดหลักเกณฑ์กำรพิจำรณำจ ำแนกประเภทที่ดินในกำรประชุมคณะกรรมกำรพัฒนำที่ดิน ครั้งที่
                      4/2530, 3/2534, 3/2537, 2/2540 และครั้งที่ 4/2553 ดังนี้ (ดังแสดงในตำรำงที่ 2-1)

                      ตำรำงที่ 2-1  ตำรำงแสดงข้อมูลหลักเกณฑ์กำรจ ำแนกประเภทที่ดิน

                                                                     พื้นที่ป่ำไม้ถำวรซึ่งสมควรจ ำแนกออกเป็นที่ท ำกิน
                               พื้นที่ซึ่งจะต้องรักษำไว้เป็นป่ำไม้ถำวร
                                                                               และใช้ประโยชน์อื่นๆ


                       1.) พื้นที่ซึ่งมีสภำพเป็นป่ำไม้              1.) พื้นที่ซึ่งหมดสภำพป่ำและดินเหมำะสมแก่
                       2.) พื้นที่ซึ่งคณะรัฐมนตรีก ำหนดให้จัดเป็นชั้นคุณภำพ        กำรเกษตร มีกำรถือครองและท ำประโยชน์แล้ว
                            ลุ่มน้ ำ ชั้น 1 หรือชั้น 2, หรือส ำหรับชั้น 3 ในบริเวณ   2.) พื้นที่สำธำรณประโยชน์ที่พลเมืองใช้ร่วมกัน เช่น
                            ที่ควำมลึกของดินน้อยกว่ำ 50 ซ.ม.             ที่ท ำเลเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น
                       3.) ตำมข้อเสนอของผู้แทนกรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำ   3.) พื้นที่ซึ่งใช้ประโยชน์ของหน่วยรำชกำร เช่น ที่ดิน
                            และพันธุ์พืช เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่หน่วยงำนและ        หน่วยรำชกำร อ่ำงเก็บน้ ำชลประทำน
                            โครงกำรของกรมป่ำไม้ กรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำ   4.) เขตห้ำมล่ำสัตว์ ถ้ำรำษฎรมี น.ส. 3 ถือครองอยู่
                            และพันธุ์พืชและกรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง        แล้ว ตำมประมวลกฎหมำยที่ดินก่อนประกำศ
                            ซึ่งเป็นหน่วยงำนที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตำมพระรำชบัญญัติ        พระรำชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ำ
                            ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 (ปรับปรุงตำม       พ.ศ. 2535 ให้จ ำแนกออกจำกเขตห้ำมล่ำสัตว์
                            มติคณะกรรมกำรฯ ครั้งที่ 4/2553)         5.) พื้นที่ซึ่งมีสภำพป่ำ มีเนื้อที่แห่งละไม่เกิน 500 ไร่
                       4.) พื้นที่ซึ่งดินไม่สำมำรถใช้ในทำงเกษตรกรรมได้        ให้จ ำแนกออกเป็นป่ำชุมชน เว้นแต่ กรณีที่มี
                       5.) พื้นที่ซึ่งเป็นเกำะ ภูเขำ หรือพื้นที่ซึ่งมีควำมลำดชันเกิน 35%       พื้นที่ติดต่อกับป่ำสงวนแห่งชำติ, อุทยำนแห่งชำติ,
                       6.) ป่ำชำยทะเล, ป่ำชำยเลน, ป่ำที่เกำะ ห้ำมจ ำแนกออก        เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำหรืออยู่ในเขตพื้นที่ป่ำ
                            จำกป่ำไม้ถำวร                                โครงกำรฯ ที่ให้สัมปทำนท ำไม้ให้รักษำไว้เป็น
                       7.) ป่ำที่เป็นเกำะและไม่มีเอกสำรสิทธิ์ ให้เก็บไว้เป็นป่ำไม้        ป่ำไม้ถำวร
                            ถำวรทั้งหมด (มติคณะกรรมกำรฯ ครั้งที่ 3/2537)
                       8.) ป่ำชำยเลน ตำมมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 ธันวำคม
                            2530 หรือพื้นที่เป็นป่ำติดชำยทะเล ให้รักษำไว้เป็น
                            ป่ำไม้ถำวรไม่ควรจ ำแนกออก ส่วนพื้นที่ที่รำษฎรมี
                            เอกสำรสิทธิ์ให้รำษฎรร้องขอมำเป็นรำยๆ ไป
                            ทำงกรมป่ำไม้จะกันออกให้ มติคณะกรรมกำรฯ
                            ครั้งที่ 3/2534)
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29