Page 73 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 73

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       57







                                                              สรุป


                              การวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรข้อมูลเศรษฐกิจและสังคม
                       การติดต่อสื่อสารจิตวิทยา และการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอนเขต

                       พัฒนาที่ดิน ลุ่มน้้าคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรในพื้นที่จัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบน

                       พื้นที่ลุ่ม-ดอน ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน
                       เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าคลองหล่อยูง รวมทั้งศึกษา ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของเกษตรกร

                       ต้าบลหล่อยูง อ้าเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงาโดยศึกษาจากการสัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นที่จัดท้าระบบ
                       อนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน จ้านวน 118  รายโดยการสุ่มตัวอย่างแบบธรรมดา โดยการจับ

                       ฉลาก จากประชากรทั้งหมด 170 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์ ส้าหรับสถิติที่ใช้
                       ประกอบด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่้าสุดค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดย

                       ใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบขั้นตอน

                              จากการวิจัยข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกร พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ
                       79.66  อายุเฉลี่ย 51.60  ปี ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบระดับ

                       ประถมศึกษาปีที่ 4 และอนุปริญญาหรือเทียบเท่าร้อยละ  22.03  มีจ้านวนสมาชิกในครอบครัว 1-3

                       คนร้อยละ 90.68 เป็นสมาชิกกลุ่มลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ร้อยละ 79.66 ส่วนใหญ่
                       ประกอบอาชีพท้าสวนยางพาราร้อยละ 44.07 อาชีพรองส่วนใหญ่รับจ้าง 31.36 ที่ดินถือครองเฉลี่ย

                       12.86  ไร่ต่อครัวเรือน ท้าสวนยางพาราเฉลี่ย 10.89  ไร่ และท้าสวนปาล์มน้้ามันเฉลี่ย 15.03  ไร่ จึง
                       กล่าวได้ว่าการใช้ประโยชน์จากที่ดินถือครองจะใช้เพื่อท้าการเกษตรเป็นหลัก  สิ่งอ้านวยความสะดวก

                       ในครัวเรือน เช่น โทรทัศน์และรถจักรยานยนต์ รองลงมาคือ สมาร์ตโฟน เครื่องมือท้าการเกษตรส่วน
                       ใหญ่มีเครื่องตัดหญ้า เนื่องจากเป็นเครื่องมือที่ใช้บ่อยในการก้าจัดวัชพืชภายในสวน  รองลงมาคือ

                       เครื่องพ่นยาปราบศัตรูพืช รายได้รวมของครอบครัวเฉลี่ย 189,643.36 บาท รายได้จากภาค

                       การเกษตรเฉลี่ย 111,786.02บาท โดยส่วนใหญ่มีรายได้ต่้ากว่า 100,000  บาทต่อปีต่อครัวเรือน
                       เกษตรกรส่วนใหญ่มีหนี้สิน ซึ่งเกิดจากใช้จ่ายในครอบครัว และลงทุนท้าการเกษตร ตามล้าดับ

                       จ้านวนแรงงานที่ใช้ท้าการเกษตรในครัวเรือนเฉลี่ย 2.14  คน และแรงงานจ้างเฉลี่ย 0.95    คน

                       เกษตรกรมีการพบปะเจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดิน 3-4  ครั้งต่อปี ร้อยละ35.59รองลงมาคือ พบมากกว่า 1
                       ครั้งต่อเดือน ร้อยละ 32.20ซึ่งส่งผลต่อความรู้ความเข้าใจในการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบน

                       พื้นที่ลุ่ม-ดอน ที่ลดลง  นอกจากนี้แหล่งความรู้อื่นๆ ด้านการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าได้จากการ
                       ดูโทรทัศน์ เกษตรกรส่วนใหญ่เข้ารับการฝึกอบรมด้านการพัฒนาที่ดิน1 ครั้งต่อปี ร้อยละ 34เกษตรกร

                       มีทัศนคติเชิงบวกต่อการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน โดยเห็นว่า การก่อสร้าง
                       อาคารชะลอความเร็วน้้าสามารถลดกระแสน้้าไหลแรงได้ รองลงมา คือ การจัดท้าโครงการจัดระบบ

                       อนุรักษ์ดินและบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเกษตรได้ เกษตรกรมีทัศนคติต่อเจ้าหน้าที่
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78