Page 70 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 70

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       54







                       อธิบายการผันแปร (การเปลี่ยนแปลง) ของตัวแปรตาม (การยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า
                       บนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินของเกษตรกร) ได้ร้อยละ 57.20 โดยในกลุ่มตัวแปรอิสระทั้งหมด 3

                       ตัวแปร พบว่ามีตัวแปรจ้านวน1 ตัวแปร ที่มีผลต่อตัวแปรตามอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
                       ได้แก่ การหาความรู้จากสื่อมวลชน (X )(ตารางที่ 22)
                                                      6
                              จากผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน พบว่า ปัจจัยการติดต่อการสื่อสารที่มีผลต่อการ
                       ยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกร

                              การหาความรู้จากสื่อมวลชน ที่เป็นข่าวด้านการเกษตร พบว่า การหาความรู้จากสื่อมวลชนมี

                       ผลต่อการยอมรับการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกร แสดง
                       ว่า เกษตรกรที่มีการหาความรู้จากสื่อมวลชนน้อยจะมีการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า

                       บนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกรได้ดีกว่าเกษตรกรที่มีการหาความรู้จากสื่อมวลชนมาก ทั้งนี้

                       เนื่องมาจากความรู้จากสื่อมวลชน  ที่เป็นข่าวด้านการเกษตรที่เกษตรกรได้รับ อาทิเช่น รายการเพื่อน
                       เกษตร คนไทยหัวใจเกษตร รอบรู้ข่าวเกษตร เป็นตัน มีเนื้อหาเกี่ยวกับการท้าการเกษตรในวิชาการ

                       ด้านอื่นๆมากกว่าส่วนเนื้อหาข่าวที่เกี่ยวกับการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้าและไม่ได้เจาะลึกเกี่ยวกับ
                       การอนุรักษ์ดินและน้้าจึงท้าให้เมื่อเกษตรกรรับความรู้จากสื่อมวลชนที่เป็นข่าวด้านการเกษตรที่มี

                       ข้อมูลไม่ละเอียดมากพอประกอบกับการได้รับความรู้จากสื่อมวลชล ซึ่งเป็นการสื่อสารด้านเดียว  เมื่อ
                       เกษตรกรลองน้าไปปฏิบัติ  หากเกิดปัญหา หรือมีข้อซักถาม ท้าให้เกษตรกรไม่สามารถแก้ไขปัญหา

                       หรือ ซักถามได้ทันที ซึ่งต่างจากการได้รับความรู้จากเจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดิน  ที่เกษตรกรสามารถถาม

                       ข้อสงสัยได้ทันที
                              ซึ่งตัวแปรทั้งหมดที่น้ามาวิเคราะห์สามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุ ได้ดังนี้

                              Y  =   a + b x
                                          6 6
                               1
                              Y  =   1.831 + (-0.064) (X )
                                                       6
                               1
                              Y  =   1.831 + (-0.064) (การหาความรู้จากสื่อมวลชน)
                               1
                       ตารางที่ 22การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณปัจจัยการติดต่อสื่อสาร

                                                                             ค่า
                                           ตัวแปร                        สัมประสิทธิ์     t         Sig

                                                                         ถดถอย (b)



                       (Constant)                                        1.831  60.915 0.000

                       การหาความรู้จากสื่อมวลชน (X )                     -0.064  -3.304  0.000
                                                 6
                                     F =76.850,   Sig. of  F = 0.000,    SE  = 0.132
                                                                           est
                                                            2
                                            R = 0.756,     R  = 0.572
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75