Page 69 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 69

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       53







                              จากผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน พบว่า ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อการยอมรับ
                       การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกร

                              ขนาดพื้นที่ถือครอง พบว่า ขนาดพื้นที่ถือครองมีผลต่อการยอมรับการยอมรับการจัดท้า
                       ระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกร แสดงว่า เกษตรกรที่มีขนาดพื้นที่ถือครอง

                       น้อยจะมีความการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกรได้ดีกว่า
                       เกษตรกรที่มีขนาดพื้นที่ถือครองมาก เนื่องจากเกษตรกรที่มีขนาดพื้นที่ถือครองน้อย การท้า

                       การเกษตรบนพื้นที่ต้องท้าอย่างระมัดระวัง มีการบริหารจัดการพื้นที่ถือครองให้เกิดประสิทธิภาพ

                       สูงสุด ดังนั้น เกษตรกรจึงมีการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ซึ่ง
                       สอดคล้องกับภัทราวรรณ(2551)ได้ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีเพื่อการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ  105

                       ของเกษตรกรในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า เกษตรกรที่มีขนาดพื้นที่ปลูกข้าวขาวดอก

                       มะลิ 105 แตกต่างกัน มีการยอมรับเทคโนโลยีแตกต่างกัน
                              ซึ่งตัวแปรทั้งหมดที่น้ามาวิเคราะห์สามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุ ได้ดังนี้

                              Y  =   a + b x
                               1
                                          2 2
                              Y  =   1.595 + (-0.008) (X )
                                                       2
                               1
                              Y  =   1.595 + (-0.008) (ขนาดพื้นที่ถือครอง)
                               1
                       ตารางที่ 21การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม

                                                                        ค่าสัมประสิทธิ์
                                           ตัวแปร                                          t        Sig
                                                                          ถดถอย (b)



                       (Constant)                                        1.595         64.759 0.000
                       ขนาดพื้นที่ถือครอง (X )                           -0.008        -5.420  0.015
                                         2

                                     F =29.375,    Sig. of  F = 0.000,    SE  = 0.180
                                                                           est
                                                                   2
                                                   R = 0.450,     R  = 0.202

                              สมมติฐานที่ 2ปัจจัยการติดต่อสื่อสาร ได้แก่ การติดต่อกับเจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดินการหา
                       ความรู้จากสื่อมวลชน และการอบรมมีผลต่อการยอมรับการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า

                       บนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกร
                              ผลของการวิเคราะห์ถดถอยพหุปัจจัยการติดต่อสื่อสาร โดยน้าตัวแปรอิสระทั้ง 3 ตัวแปรเข้า

                       ไปในสมการแล้วค้านวณโดยใช้วิธี Stepwise  ปรากฏว่าได้ค่า  F  =  76.850;Sig.  of    F  =  0.000
                       หมายความว่ามีตัวแปรอิสระอย่างน้อย 1 ตัวแปร ที่มีความสัมพันธ์และท้านายตัวแปรตามในรูปเชิง

                       เส้น เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์การท้านายเชิงพหุแบบขั้นตอน (Multiple  Coefficient  of
                                       2
                                                   2
                       Determination, R ) ปรากฏว่า R  มีค่าเท่ากับ 0.572 หมายความว่า ตัวแปรอิสระทั้งหมดสามารถ
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74