Page 71 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 71

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       55







                              สมมติฐานที่ 3ปัจจัยด้านจิตวิทยา ได้แก่ ทัศนคติต่อการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบน
                       พื้นที่ลุ่ม-ดอน และทัศนคติต่อเจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดินมีผลต่อการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและ

                       น้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกร
                              ผลของการวิเคราะห์ถดถอยพหุปัจจัยการติดต่อสื่อสาร โดยน้าตัวแปรอิสระทั้ง 2 ตัวแปรเข้า

                       ไปในสมการแล้วค้านวณโดยใช้วิธี Stepwise  ปรากฏว่าได้ค่า  F  =  13.311;Sig.  of    F  =  0.000
                       หมายความว่ามีตัวแปรอิสระอย่างน้อย 1 ตัวแปร ที่มีความสัมพันธ์และท้านายตัวแปรตามในรูปเชิง

                       เส้น เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์การท้านายเชิงพหุแบบขั้นตอน (Multiple  Coefficient  of
                                                   2
                                       2
                       Determination, R ) ปรากฏว่า R  มีค่าเท่ากับ 0.188 หมายความว่า ตัวแปรอิสระทั้งหมดสามารถ
                       อธิบายการผันแปร (การเปลี่ยนแปลง) ของตัวแปรตาม (การยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า

                       บนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินของเกษตรกร) ได้ร้อยละ 18.80 โดยในกลุ่มตัวแปรอิสระทั้งหมด 2

                       ตัวแปร พบว่า มีตัวแปรจ้านวน 2 ตัวแปร ที่มีผลต่อตัวแปรตามอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
                       ได้แก่ทัศนคติต่อการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า บนพื้นที่ลุ่ม-ดอน (X )ทัศนคติต่อเจ้าหน้าที่พัฒนา
                                                                                  8
                       ที่ดิน (X )(ตารางที่ 23)
                             9
                              จากผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน พบว่า ปัจจัยด้านทัศนคติที่มีผลต่อการยอมรับ

                       การยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า บนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกร
                              ทัศนคติต่อการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน พบว่า ทัศนคติต่อการจัดท้า

                       ระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอนมีผลต่อการยอมรับการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดิน

                       และน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกร แสดงว่า เกษตรกรมีทัศนคติต่อการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดิน
                       และน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอนมากจะมีความการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน

                       ของเกษตรกรได้ดีกว่าเกษตรกรที่มีทัศนคติต่อการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอนน้อย

                       เนื่องจาก หลังจากที่เกษตรกรได้เข้าร่วมโครงการการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน
                       กับทางสถานีพัฒนาที่ดินพังงาในกิจกรรมต่างๆแล้ว  ท้าให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่

                       ของตนเองได้มากขึ้น สามารถลดการชะล้างพังทลายของดิน สามารถเก็บกักความชุ่มชื้นของดินในฤดู
                       แล้งได้และการท้าการเกษตรในพื้นที่มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น จึงมีการยอมรับการจัดท้าระบบ

                       อนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกรซึ่งสอดคล้องกับ ชิตพล (2551)ได้ศึกษาการยอมรับ
                       การใช้ปุ๋ยชีวภาพในสวนยางพารา :  กรณีศึกษา เกษตรกรในต้าบลท่าข้าม อ้าเภอหาดใหญ่  จังหวัด

                       สงขลา พบว่า เกษตรกรที่มีทัศนคติที่ดีต่อการใช้ปุ๋ยชีวภาพในสวนยางพารา จะยอมรับการใช้ปุ๋ย

                       ชีวภาพได้มากกว่าเกษตรกรที่มีทัศนคติไม่ดี
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76