Page 161 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 161

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       139







                       5.2  ข้อเสนอแนะ
                               5.2.1  ข๎อมูลที่ได๎จากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินนั้น ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในสํวน
                       ตํางๆ เชํน คุณภาพที่ดินในพื้นที่นั้นๆ โดยปรับให๎สอดคล๎องกับข๎อเท็จจริงในพื้นที่ที่เปลี่ยนแปลง
                       ไป เทคโนโลยีการผลิตของเกษตรกรภายในพื้นที่ เพื่อให๎สอดคล๎องกับสภาพที่เป็นจริงและเป็นปัจจุบัน

                               5.2.2 การประเมินความเหมาะสมของที่ดินในลักษณะนี้ เป็นเพียงข๎อมูลเบื้องต๎นใน
                       การวางแผนการใช๎ที่ดินโดยให๎มีการเลือกนําไปใช๎ประโยชน์อยํางมีระบบตามความต๎องการของผู๎ใช๎
                       ซึ่งชี้ให๎เห็นความเหมาะสมของที่ดิน สําหรับการนําไปใช๎ประโยชน์ที่ดินแตํละประเภทหรือแตํละชนิด
                       รวมถึงข๎อจํากัดในการใช๎ประโยชน์และการจัดการที่ดินที่นํามาปฏิบัติในภาพรวมอยํางกว๎างๆเทํานั้น

                       หากต๎องการนําไปใช๎ประโยชน์สําหรับพื้นที่เฉพาะเจาะจงขึ้นจําเป็นต๎องมีการศึกษาข๎อมูลและนํา
                       ข๎อจํากัดเฉพาะพื้นที่นั้นๆ มาประกอบการพิจารณาการประเมินความเหมาะสมของที่ดินด๎วย
                               5.2.3 การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืช บางครั้งเมื่อมีข๎อจํากัดบาง
                       ประการทําให๎ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชนั้นลดลง เกษตรกรสามารถปรับปรุงหรือ

                       แก๎ไขเพื่อลดข๎อจํากัดนั้นได๎ แตํควรคํานึงถึงต๎นทุนการผลิตที่ต๎องเพิ่มขึ้นวําเหมาะสมกับผลตอบแทน
                       ทางเศรษฐกิจหรือไมํ
                               5.2.4 ผลงานวิชาการฉบับนี้ หากจะทําให๎มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ควรมีการนําผล

                       การศึกษาสมดุลของน้ําเพื่อการเกษตรไปวางแผนการศึกษาการใช๎ในโปรแกรมแบบจําลองเพื่อทํานาย
                       สถานการณ์เกิดภัยแล๎งหรืออุทกภัย และการปลูกพืชให๎สอดคล๎องกับการวางแผนการใช๎ที่ดิน
                               5.2.5 ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องการกําหนดเขตการใช๎ที่ดินโดยใช๎อุปสงค์นําอุปทาน
                       ซึ่งจะต๎องระบุให๎ได๎วําพื้นที่ใดกําหนดให๎ปลูกพืชชนิดใด ไมํใชํเป็นพืชทางเลือก จะเป็นการแก๎ปัญหา
                       ผลผลิตทางการเกษตรที่เกินความต๎องการของตลาดได๎

                               5.2.6 ในการวางแผนการใช๎ที่ดินเพื่อเป็นการฟื้นฟูพื้นที่วิกฤต ควรมีการศึกษาหรือประเมิน
                       ในสํวนของระบบการเพาะปลูกหรือการจัดการพื้นที่ เชํน ระบบวนเกษตร ระบบเกษตรผสมผสาน
                       เพื่อพิจารณาความเหมาะสมเปรียบเทียบกับระบบการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ซึ่งจะชํวยให๎การวางแผนการ

                       ใช๎ที่ดินเกิดการวิเคราะห์ความคุ๎มทุน ( Trade-off  analysis  )  และสามารถวางแผนการใช๎พื้นที่ได๎
                       อยํางเต็มศักยภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด


                       5.3  ประโยชน์ที่ได้รับ
                               5.3.1 จากการศึกษาทําให๎ทราบถึงการกระจายตัวของพื้นที่ปลูกพืชตํางๆ ในลุํมน้ําสาขาแมํน้ํา
                       ประแสร์ที่ระดับความเหมาะสมตํางๆ เพื่อนําไปวางแผนการปรับลดหรือเพิ่มพื้นที่ปลูกตามเปูาหมาย
                       การผลิตได๎ เพื่อให๎สอดคล๎องกับความต๎องการของตลาด และได๎รับผลตอบแทนตํอหนํวยที่สูงขึ้น

                       โดยเฉพาะ ยางพารา และปาล์มน้ํามัน มีพื้นที่ศักยภาพที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ในปริมาณ
                       มากจึงยังสามารถขยายพื้นที่การเพาะปลูกได๎
                               5.3.2 ความเหมาะสมของที่ดินที่ประเมินได๎เป็นข๎อมูลเบื้องต๎นในการตัดสินใจการเลือกพืช
                       ที่ปลูก หรือเลือกเทคโนโลยีการผลิตเพื่อมาสนับสนุนการปลูกพืชในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ และใช๎

                       ในการพิจารณาความคุ๎มคําในการลงทุนเพื่อปรับปรุงแก๎ไขความเหมาะสมของที่ดิน
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166