Page 159 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 159

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       137







                       เกษตรกรจึงควรจะมีการปรับตัวในการเพาะปลูกให๎เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป
                       โดยการเลื่อนชํวงระยะเวลาปลูกหรือใช๎พันธุ์พืชหรือประเภทพืชที่เหมาะสมมากยิ่งขึ้นเพื่อให๎ได๎ผลผลิตที่ดี
                       สํวนทรัพยากรน้ํา ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์มีลําน้ําตามธรรมชาติ ประกอบด๎วยลําน้ําสายหลักที่มีน้ํา
                       ไหลตลอดปี และลําน้ําสายรองที่มีน้ําไหลผํานเป็นบางชํวงของปี ลําน้ําที่สําคัญ ได๎แกํ แมํน้ําประแสร์

                       และคลองโพล๎ ปริมาณน้ําทําในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์รายปี มีจํานวน 115.31 ล๎านลูกบาศก์
                       เมตร โดยในชํวงฤดูฝนมีปริมาณน้ําทํา 101.62 ล๎านลูกบาศก์เมตร หรือร๎อยละ 88.13 ของปริมาณ
                       น้ําทํารายปีเฉลี่ย สํวนในฤดูแล๎งมีปริมาณน้ําทํา 13.69 ล๎านลูกบาศก์เมตร หรือร๎อยละ 11.87 ของ
                       ปริมาณน้ําทํารายปีเฉลี่ย คุณภาพน้ําผิวดินในลุํมน้ําสาขานี้โดยรวมอยูํในเกณฑ์ พอใช๎ สามารถใช๎

                       ประโยชน์เพื่อการอุปโภคบริโภคโดยต๎องผํานการฆําเชื้อโรคและปรับปรุงคุณภาพกํอน และสามารถใช๎
                       เป็นน้ําเพื่อการเกษตรได๎ แหลํงน้ําใต๎ดินสํวนใหญํอยูํในชั้นหินรํวน (ชั้นหินอุ๎มน้ําตะกอนเศษหินเชิงเขา)
                       ซึ่งมีเนื้อที่ 552,582 ไรํ หรือร๎อยละ 41.36 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา พบกระจายอยูํตอนกลางและ
                       ตอนลํางของลุํมน้ําสาขา ด๎านคุณภาพน้ําใต๎ดินสํวนใหญํมีอัตราการให๎น้ําน๎อยกวํา 2 ลูกบาศก์เมตรตํอชั่วโมง

                       และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยูํในน้ําน๎อยกวํา 500 มิลลิกรัมตํอลิตร สํวนบริเวณที่มีศักยภาพ
                       ในการพัฒนาน้ําใต๎ดินเพื่อนําขึ้นมาใช๎ประโยชน์ด๎วยวิธีการขุดเจาะบํอบาดาล อยูํบริเวณอําเภอบํอทอง
                       และหนองใหญํ จังหวัดชลบุรี อําเภอเขาชะเมา แกลง บ๎านคําย และวังจันทร์ จังหวัดระยอง มี

                       โครงการพัฒนาแหลํงน้ําใต๎ดินประเภทบํอน้ําบาดาล จํานวน 129 บํอ โครงการพัฒนาแหลํงน้ําผิวดิน
                       ประเภทโครงการชลประทานขนาดใหญํจํานวน 1 แหํง และโครงการชลประทานขนาดกลางจํานวน 1
                       แหํง จากผลการศึกษาทรัพยากรน้ําในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ พบวํา ทรัพยากรน้ําอยูํในภาวะไมํ
                       สมดุลระหวํางปริมาณน้ําใช๎และปริมาณความต๎องการใช๎น้ํา โดยเฉพาะอยํางยิ่งในภาคการเกษตร
                       ดังนั้นข๎อมูลด๎านปริมาณน้ําจึงนําจะเป็นแนวทางให๎ผู๎มีสํวนเกี่ยวข๎องหาทางปูองกันแก๎ไขภาวะขาด

                       แคลนในพื้นที่ เชํน เก็บกักน้ําไว๎ใช๎ยามขาดแคลน สํารวจหาแหลํงน้ําเพิ่ม เป็นต๎น
                               5.1.2 การเปลี่ยนแปลงการใช๎ประโยชน์ที่ดิน ในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ระหวํางปี
                       2553 และปี 2559 พบวําพื้นที่เกษตรกรรม มีแนวโน๎มลดลง ร๎อยละ0.32 จากพื้นที่เกษตรกรรมเดิม

                       โดยพื้นที่ปลูกยางพารา และปาล์มน้ํามัน มีแนวโน๎มเพิ่มสูงขึ้นจากพื้นที่เดิม ร๎อยละ26.66 และ
                       21.56 ตามลําดับ สํวนพื้นที่ปุาไม๎มีแนวโน๎มลดลงจากพื้นที่เดิม ร๎อยละ 3.64 ของพื้นที่ลุํมน้ําสาขา
                               5.1.3  ปัจจัยที่มีผลตํอการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดิน ปัจจัยพื้นฐานที่สํงผลตํอการ
                       เปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินในพื้นที่ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ 5 ปัจจัย ได๎แกํ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

                       ทรัพยากรและปัจจัยการผลิต การถือครองที่ดิน คุณภาพที่ดิน และการบริการจากภาครัฐหรือ
                       หนํวยงานที่เกี่ยวข๎อง โดยแบํงเป็นด๎านหลักๆ คือ ปัจจัยด๎านกายภาพ และปัจจัยด๎านเศรษฐกิจและ
                       สังคม ปัจจัยทางกายภาพหลักที่สํงผลกระทบตํอการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินในพื้นที่ลุํมน้ําสาขาแมํน้ํา
                       ประแสร์ คือ ทรัพยากรดิน เชํน การลดลงของคุณภาพดินหรือความอุดมสมบูรณ์ของดิน ทําให๎

                       เกษตรกรต๎องมีการจัดการที่มากขึ้น นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เชํน ปริมาณน้ําฝน
                       และอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง ก็มีผลตํอความเหมาะสมของที่ดินกับการเพาะปลูก ซึ่งการศึกษาถึงปัจจัย
                       ที่มีผลตํอการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดิน เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับการตัดสินใจในการใช๎ที่ดินของ
                       เกษตรกร จะชํวยให๎เข๎าใจถึงลักษณะและความต๎องการของเกษตรกร และเป็นเครื่องมือที่ชํวย

                       สนับสนุนการวางแผนการใช๎ที่ดิน เป็นข๎อมูลที่สําคัญสําหรับผู๎บริหารในการกําหนดนโยบาย
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164