Page 160 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 160

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       138







                               5.1.4   ประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดิน ในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์นี้ มีประเภทการใช๎ประโยชน์
                       ที่ดินหลักๆ คือ ยางพารา และปาล์มน้ํามัน มีเพียงสํวนน๎อยที่ปลูกไม๎ผลผสม ทุเรียน ยูคาลิปตัส และ
                       สับปะรด
                               5.1.5   การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ ภายในลุํมน้ําสาขาแมํน้ํา

                       ประแสร์ โดยการศึกษาตามวิธีขององค์การอาหารและเกษตรแหํงสหประชาชาติ (FAO) พบวํา
                       ประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินเป็นยางพารา มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสม
                       ปานกลาง (S2) และพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) สํวนปาล์มน้ํามัน ไมํมีพื้นที่ที่มีความ
                       เหมาะสมสูง (S1) แตํมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย

                       (S3) โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     1) ยางพารา มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง
                       (S2) และพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) ร๎อยละ 0.70 48.06 และ25.96 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                       ตามลําดับ

                                     2) ปาล์มน้ํามัน พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
                       เล็กน๎อย (S3) ร๎อยละ 29.70 และ 26.71  ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ตามลําดับ
                               5.1.6 การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชทางเลือก 4 ประเภท ได๎แกํ ทุเรียน

                       สับปะรด อ๎อย และมันสําปะหลัง สรุปได๎ดังนี้
                                     1) ทุเรียน มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                       พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) และพื้นที่ที่ไมํมีความเหมาะสม (N) ร๎อยละ 1.06 27.23 2.52
                       และ 69.19 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ตามลําดับ
                                     2) สับปะรด มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                       (S2) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) และพื้นที่ที่ไมํมีความเหมาะสม (N) ร๎อยละ 6.80 58.87
                       5.18 และ 29.15 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ตามลําดับ
                                     3) อ๎อย มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)

                       พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) และพื้นที่ที่ไมํมีความเหมาะสม (N) ร๎อยละ 0.09 50.16 20.21
                       และ 29.55 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ตามลําดับ
                                     4) มันสําปะหลัง มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปาน
                       กลาง (S2) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) และพื้นที่ที่ไมํมีความเหมาะสม (N) ร๎อยละ 7.71

                       24.62 42.82 และ 24.85 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ตามลําดับ
                               การประเมินความเหมาะสมของที่ดินด๎านกายภาพ ทําให๎ทราบถึงสภาพพื้นที่วําเหมาะกับการ
                       ปลูกพืชชนิดใดเพื่อให๎ได๎ผลผลิตที่เหมาะสมและมีคุณภาพ อีกทั้งทราบข๎อจํากัดที่เป็นอุปสรรคตํอการ
                       เพาะปลูกพืช ซึ่งเป็นข๎อมูลที่มีประโยชน์มากในการที่จะพัฒนาการผลิตพืชเศรษฐกิจ เนื่องจากจะสามารถ

                       แก๎ไขข๎อจํากัดได๎ตรงจุด ชํวยให๎เกษตรกรสามารถตัดสินใจได๎วําจะปรับปรุงแก๎ไขข๎อจํากัด หรือจะเกิดการ
                       คุ๎มทุนหรือไมํ ถือเป็นการวิเคราะห์ความคุ๎มคําในการที่จะผลิตพืชเศรษฐกิจตํางๆ ได๎ และจากการศึกษา
                       พบวํา ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการปลูกพืชปานกลาง โดยพื้นที่สํวนใหญํ
                       เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย และเป็นดินกรด ทําให๎มีข๎อจํากัดเกิดขึ้น จึงต๎องมีมาตรการเพื่อลด

                       ข๎อจํากัดนั้นๆ เพื่อให๎เกษตรกรสามารถทําการเกษตรได๎อยํางเหมาะสมมากขึ้น
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165