Page 158 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 158

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        136







                                                             บทที่ 5
                                                         สรุปผลการศึกษา


                       5.1  สรุปผลการศึกษา
                               จากผลการศึกษาการประเมินความเหมาะสมของที่ดินด๎านกายภาพสําหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวาง
                       แผนการใช๎ที่ดินในการฟื้นฟูลุํมน้ําวิกฤต ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ สามารถสรุปได๎ดังนี้
                               5.1.1   การประเมินความเหมาะสมด๎านกายภาพ

                                     สภาพทั่วไปของลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ มีเนื้อที่รวมทั้งหมด 1,336,093.75 ไรํ การใช๎
                       ที่ดินสํวนใหญํเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ร๎อยละ 77.75 รองลงมาคือ พื้นที่ปุาไม๎ ร๎อยละ 14.02 ของเนื้อที่
                       ลุํมน้ําสาขา ทําการเกษตรโดยอาศัยน้ําฝนเป็นหลัก และมีการปลูกพืชเศรษฐกิจที่สําคัญภายในลุํมน้ํา
                       สาขา คือ ยางพารา และปาล์มน้ํามัน ทรัพยากรดินสํวนใหญํมีสภาพพื้นที่เป็นดินกรดในที่ดอน

                       พบกระจายอยูํบริเวณกว๎างรอบๆ พื้นที่ลุํมน้ําสาขา ถึงร๎อยละ 40.73 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา รองลงมา
                       เป็นดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นลูกรัง ก๎อนกรวด หรือเศษหิน และพื้นที่ลาดชันเชิงซ๎อน สําหรับดินที่ไมํมี
                       ปัญหาพิเศษมีเนื้อที่ 97,129 ไรํ หรือร๎อยละ 7.28 พบเป็นทางยาวแคบๆ ในอําเภอบํอทอง อําเภอ
                       หนองใหญํ จังหวัดชลบุรี และอําเภอแกลง อําเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง โดยในการจัดทําหนํวยที่ดิน

                       เพื่อใช๎ในการประเมินคุณภาพที่ดินภายในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ใช๎ข๎อมูลจากกลุํมชุดดิน 33 กลุํม
                       ชุดดินและการจัดการที่ดินเฉพาะในพื้นที่ลุํมน้ําสาขาสามารถจัดทําได๎ 139 หนํวยที่ดิน คือ หนํวยที่ดิน
                       ที่ 2 2I3 2M2 3 3M2 6 6M2 6I1 6I1M2 7 7M2 11 11I1 11I1M2 11I3 11M2 13 13I3 13M2

                       14 14I3 14M2 17 17I1 17I1M2 17M2 18 18I3 18M2 23 23I3 23M2 24 24M2 26 26B 26BI3
                       26C 26D 26gm 26gmB 26gmI1 26I3 26I3M 28C 28D 28E/RC 29B 32 32I1 32I3 34 34B
                       34BI1 34BI1M3 34BM3 34C 34CI1 34CM3 34D 34gm 34gmI1 34I1 34I1M3 34I3 34M3 35B
                       35BM3 35C 35gmB 36B 39 39B 39BI1 39C 39CI1 39D 39I1 40 40B 40BM3 40C 40CM3
                       40gm 40gmM3 40M3 42 43 43B 43BI1 43BM3 43I1 43M3 44 44B 45 45B 45BI1 45BI1M3

                       45BI3 45BI3M3 45BM3 45C 45CI1 45CM3 45D 45gmI1 45I1 46B 46BM3 46C 47B 47BM3
                       47C 47CM3 47D 47DM3 47E 48B 48BM3 48C 48D 48E 48E/RC 50 50B 50BI1 50C 50I1
                       51C 51CI1 51D 51DI1 51E 53C 55B 56B 56BM3 56C 62 และสําหรับการวิเคราะห์สมดุลของน้ํา

                       เพื่อการเกษตร เพื่อนําไปใช๎ในการวางแผนการผลิตพืชภายในพื้นที่ลุํมน้ําสาขา พบวําชํวงระยะเวลาที่
                       มีความชื้นพอเหมาะตํอการเพาะปลูกพืชเป็นชํวงฤดูฝนปกติ อยูํในชํวงต๎นเดือนมีนาคมถึงต๎นเดือน
                       พฤศจิกายน ชํวงระยะเวลาที่มีน้ํามากพอเป็นชํวงที่ฝนตกชุกจนอาจมากเกินความต๎องการของพืช อยูํ
                       ในชํวงเดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม และชํวงระยะเวลาที่ไมํสามารถปลูกพืชโดยอาศัยน้ําฝนได๎หรือ

                       ชํวงขาดน้ํา แตํถ๎าต๎องการปลูกพืชชํวงนี้ต๎องจัดหาแหลํงน้ําสํารองอยูํในชํวงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน
                       กุมภาพันธ์ของปีถัดไป และจากการวิเคราะห์และเปรียบเทียบข๎อมูลสมดุลของน้ําเพื่อการเกษตรใน
                       พื้นที่ลุํมน้ําสาขา 3 ชํวงเวลา คือ 10 ปีแรก 10 ปีกลาง และ 10 ปีลําสุด พบวําชํวง 10 ปีลําสุดมี
                       แนวโน๎มปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยลดลง แตํในขณะเดียวกันฝนมีการทิ้งชํวงยาวนานขึ้นสํวนปริมาณฝนใช๎การได๎

                       มีแนวโน๎มลดลง คิดเป็นร๎อยละ 23.82 25.05 และ 21 ตามลําดับ สํวนอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์
                       สูงขึ้น ทําให๎อากาศร๎อนชื้นมากขึ้น มีแนวโน๎มของชํวงแล๎งหรือชํวงระยะเวลาที่พืชขาดน้ํายาวนานขึ้น
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163