Page 68 - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการสำรวจทรัพยากรดินในพื้นที่สูงบริเวณลุ่มน้ำสาขา น้ำแม่ต้า (ลุ่มน้ำยม)
P. 68

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           56




                             1.1.4 ชั้นข้อมูลการตกกระทบของแสง

                                   1) สร้างแบบจําลองด้วย Model Builder โดยชั้นข้อมูล DEM_NamMaeta และเครื่องมือ

                  Hillshade (3D Analyst Tools >> Raster Surface) จาก ArcToolbox แล้วเชื่อมโยงชั้นข้อมูลและ
                  กล่องเครื่องมือ จากนั้นดับเบิ้ลคลิ๊กที่กล่องเครื่องมือ Hillshade เพื่อตั้งชื่อไฟล์ที่ช่อง Output raster
                  โดยค่า Azimuth คือ ทิศทางมุมของดวงอาทิตย์ เท่ากับ 315 และ Altitude คือ มุมของดวงอาทิตย์เหนือ

                  แนวราบ เท่ากับ 45 (ภาพที่ 21) และจะได้ชั้นข้อมูลการตกกระทบของแสง (hillshade) แสดงดังภาพที่ 22




                                                                                               ชั้นข้อมูล DEM

                                                                                                 ตั้งชื่อไฟล์











                  ภาพที่ 21 การใช้ Model Builder ในการสร้างแบบจําลองเพื่อจัดเตรียมชั้นข้อมูลการตกกระทบของแสง






































                  ภาพที่ 22 ชั้นข้อมูลการตกกระทบของแสง (hillshade) ที่สร้างจากแบบจําลอง Model Builder บริเวณลุ่มน้ํา
                            สาขาน้ําแม่ต้า
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73