Page 67 - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการสำรวจทรัพยากรดินในพื้นที่สูงบริเวณลุ่มน้ำสาขา น้ำแม่ต้า (ลุ่มน้ำยม)
P. 67

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           55




                                   2) ดับเบิ้ลคลิ๊กที่กล่องเครื่องมือ Slope โดยให้เลือกชั้นข้อมูล DEM_NamMaeta ในช่อง
                  Input raster แล้วตั้งชื่อไฟล์ในช่อง Output raster และเลือกชนิดเป็น PERCENT_RISE เสร็จแล้ว
                  ดับเบิ้ลคลิ๊กเพื่อกําหนดค่าของกล่องเครื่องมือ Reclassify ซึ่งในช่อง Input raster นั้นเชื่อมโยงมาจาก

                  เครื่องมือ Slope และกําหนดค่าด้วยคําสั่ง Add Entry โดยกําหนด Old values เป็นช่วงความลาดชัน และ
                  New values เป็นลําดับชั้น แล้วตั้งชื่อไฟล์ในช่อง Output raster ดังภาพที่ 19 จากนั้น Validate Entire
                  Model และ Run แบบจําลอง เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนจะได้เป็นชั้นข้อมูลความลาดชัน (slope) (ภาพที่ 20)


                                                                                          เชื่องโยงข้อมูลมาจาก
                                                                                            เครื่องมือ Slope
                                             ชั้นข้อมูล DEM


                                                       ตั้งชื่อไฟล์









                                                                                              ตั้งชื่อไฟล์





                  ภาพที่ 19 การกําหนดค่าของเครื่องมือ Slope และ Reclassify ในแบบจําลอง






































                  ภาพที่ 20 ชั้นข้อมูลความลาดชัน (slope) ที่สร้างจากแบบจําลอง Model Builder บริเวณลุ่มน้ําสาขาน้ําแม่ต้า
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72