Page 16 - สภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ.2559
P. 16
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
9
ตารางที่ 2 ปริมาณน้ าฝน ความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิเฉลี่ยของจังหวัดพิจิตร ในคาบ 30 ปี
(พ.ศ. 2526-2556)
ปริมาณน้ าฝน อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)
เดือน ทั้งหมด ความชื้นสัมพัทธ์
(%)
(มิลลิเมตร) สูงสุด ต่ าสุด เฉลี่ย
มกราคม 8.5 77.0 30.9 18.8 24.3
กุมภาพันธ์ 12.5 75.0 33.0 21.5 26.7
มีนาคม 22.0 73.0 34.5 23.5 28.3
เมษายน 60.1 71.0 36.1 25.1 30.1
พฤษภาคม 168.2 78.0 34.2 25.1 29.1
มิถุนายน 166.6 80.0 33.7 24.9 28.8
กรกฎาคม 166.2 83.0 32.8 24.6 28.1
สิงหาคม 233.7 84.0 32.4 24.5 27.9
กันยายน 321.3 85.0 32.2 24.6 27.9
ตุลาคม 124.2 84.0 32.2 24.3 27.7
พฤศจิกายน 23.7 79.0 32.1 21.7 26.4
ธันวาคม 7.6 78.0 30.9 19.3 24.7
รวม 1,314.6 - - - -
เฉลี่ย - 78.9 32.9 23.2 27.5
ที่มา: ส านักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา (2559)
2.3 ลักษณะภูมิประเทศ
จังหวัดพิจิตรมีสภาพพื้นที่เอื้ออ านวยต่อการเกษตร พื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ า อยู่สูงจาก
ระดับทะเลปานกลางประมาณ 30 เมตร ทางด้านตะวันออกมีความลาดเอียงไม่เกินร้อยละ 2 ส่วนที่
ต่อเนื่องกับจังหวัดเพชรบูรณ์เป็นที่ราบสูง ความลาดเอียงร้อยละ 2-10 มีแม่น้ าสายส าคัญ ไหลผ่าน
3 สาย ได้แก่ แม่น้ าน่าน แม่น้ ายม และแม่น้ าพิจิตร ซึ่งสามารถแบ่งพื้นที่ตามสภาพภูมิประเทศ ออกเป็น
3 ประเภท ดังนี้ (ส านักงานจังหวัดพิจิตร, 2560ก)
2.3.1 พื้นที่ด้านทิศตะวันออกของแม่น้ าน่าน พื้นที่ส่วนนี้มีความลาดเทจากทิศตะวันออกไป
ทางทิศตะวันตก โดยบริเวณที่ติดแม่น้ าน่านจะมีพื้นที่ค่อนข้างต่ า ส่วนพื้นที่ที่อยู่ห่างจากแม่น้ าน่าน
ออกไปทางทิศตะวันออก จะมีลักษณะค่อนข้างสูง มีล าคลองธรรมชาติที่เกิดจากเทือกเขาเพชรบูรณ์
หลายสาย ซึ่งจะไหลผ่านพื้นที่และไหลลงสู่แม่น้ าน่านในที่สุด พื้นที่ดังกล่าว ได้แก่ บางส่วนของอ าเภอ
เมืองพิจิตร อ าเภอสากเหล็ก อ าเภอวังทรายพูน อ าเภอทับคล้อ อ าเภอตะพานหิน อ าเภอบางมูลนาก
และอ าเภอดงเจริญ