Page 54 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินเพื่อวินิฉัยคุณภาพดินด้านปฐพีกลศาสตร์ในดินตัวแทนหลัก 41 ชุดดินของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           38



                        6.3 การใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง

                           ดินถมหรือดินคันทาง (roadfill or subgrade) หมายถึง วัสดุดินที่ขุดมาจากที่อื่นนํามาถมหรือดินเดิม
                  เพื่อให้เป็นชั้นดินใต้ชั้นรองพื้นทาง (subbase) การวินิจฉัยสมบัติของดินขึ้นอยู่กับความยากง่ายในการขุดและ
                  คุณภาพหลังการบดอัด ลักษณะหรือสมบัติของดินที่นํามาใช้ในการพิจารณา ได้แก่ ความสามารถที่จะรับน้ําหนัก

                  ยานพาหนะต่างๆ โดยอาศัยผลการจําแนกดินตามระบบ Unified และ AASHO ศักยภาพในการยืดและหดตัว
                  ของดิน สภาพการระบายน้ํา ความหนาของชั้นดินที่เหมาะสม ปริมาณก้อนหินและหินพื้นที่โผล่ขึ้นมา ซึ่งมีผล
                  ต่อความยากง่ายในการขุด และความลาดชันของพื้นที่ (สุวณี, 2538; Fraser et al., 1985)

                  ตารางที่ 23 ความเหมาะสมของดินเพื่อใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง (suitability of soil for roadfill or subgrade)



                     สัญลักษณ์   สมบัติของดินที่มีผล                    ระดับความเหมาะสม
                    ของข้อจํากัด   ต่อการใช้ประโยชน์
                                                       ดี         ปานกลาง       ไม่เหมาะสม    ไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง
                         a      ความสามารถในการ      GW, GP,   - CL ที่มีค่า PI <15  - CL ที่มีค่า PI ≥15   OL, OH และ Pt
                                รองรับน้ําหนักของการ  SW, SP,   - ML          - CH, MH
                                สัญจรตามการจําแนก    GM, GC,
                                ประเภทดิน โดยระบบ    SM, SC
                                Unified
                                AASHO group index      0-4          5-8             >8              -
                         l      ศักยภาพในการยืดและ     ต่ํา       ปานกลาง           สูง             -
                                หดตัวของดิน
                                COLE                 <0.035      0.035-0.06       >0.06             -
                                shrinkage index        <5           5-7             >7              -
                         d      การระบายน้ําของดิน  ระบายน้ํามาก ระบายน้ําค่อนข้าง ระบายน้ําเลว   ระบายน้ําเลวมาก
                                                  เกินไปถึงดี   เลว
                                                  ปานกลาง
                         b      ความหนาของวัสดุที่ หนามากกว่า    หนาระหว่าง     หนาระหว่าง      หนาน้อยกว่า
                                เหมาะสม (ซม.)         150          50-150         25-50             25
                         p      การจําแนกชั้นของก้อนหิน    <3       3-15          15-50            >50
                                ปริมาณก้อนหินขนาด   class 0, 1     class 3        class 4         class 5
                                เส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่  และ 2
                                กว่า 25 ซม. ซึ่งพบอยู่
                                บนผิวดิน (%)
                         r      การจําแนกชั้นของหินโผล่    <10     10-25          25-50            >50
                                ปริมาณหินพื้น ซึ่งโผล่ class 0 และ 1   class 2    class 3      class 4 และ 5
                                อยู่บนดิน (%)
                         t      ความลาดชัน (%)        0-12         12-35          35-50            >50
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59