Page 178 - ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในดินของประเทศไทย
P. 178

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                               แคลเซียม มีค่าอยู่ในพิสัยที่น้อยมากจนไม่สามามารถวัดได้ถึง 0.8 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย

                       0.2  กรัมต่อกิโลกรัม  ปริมาณแคลเซียมในแต่ละชุดดินมีค่าใกล้เคียงกันในดินบนและดินล่าง โดยชุด
                       ดินอ่าวลึกมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และชุดดินล าภูรามีค่าเฉลี่ยต่ าสุด


                               ก ามะถัน มีค่าอยู่ในพิสัยที่น้อยมากจนไม่สามารถวัดได้ถึง 328 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย
                       81 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนใหญ่ปริมาณก ามะถันเพิ่มขึ้นในดินล่าง โดยชุดดินอ่าวลึกมีค่าเฉลี่ยสูงสุด

                       และชุดดินล าภูรามีค่าเฉลี่ยต่ าสุด

                               ฟอสฟอรัส มีค่าอยู่ในพิสัยที่น้อยมากจนไม่สามารถวัดได้ถึง 376 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย

                       126 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนใหญ่ปริมาณฟอสฟอรัสในดินบนสูงกว่าดินล่าง ยกเว้นชุดดินท้ายเหมือง

                       โดยชุดดินอ่าวลึกมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และชุดดินล าภูรามีค่าเฉลี่ยต่ าสุด

                               แมงกานีส มีค่าอยู่ในพิสัยที่น้อยมากจนไม่สามารถวัดได้ถึง 2,137 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

                       เฉลี่ย 392  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนใหญ่ปริมาณแมงกานีสในดินบนสูงกว่าดินล่าง ยกเว้นชุดดิน
                       กระบี่ โดยชุดดินอ่าวลึกมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และชุดดินพังงามีค่าเฉลี่ยต่ าสุด

                               สังกะสี มีค่าอยู่ในพิสัย 7-67 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 27 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนใหญ่

                       ปริมาณสังกะสีเพิ่มขึ้นในดินล่าง ยกเว้นชุดดินอ่าวลึกและชุดดินภูเก็ต โดยชุดดินอ่าวลึกมีค่าเฉลี่ย

                       สูงสุด และชุดดินท้ายเหมืองมีค่าเฉลี่ยต่ าสุด












































                                                                                                      165
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183