Page 18 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ของหมอดินอาสา อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
450 ช่วงที่มีน้ าเกินพอ
ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย (มม.)
400
350 ค่าศักย์การคายระเหยน้ า
(PET) (มม.)
300 0.5 PET
ปริมาณน้ าฝน PET (มม.) 200 ช่วงที่แห้งแล้ง ช่วงที่มีน้ าเพียงพอ
250
150
100
50
0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เ ม .ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน
ภาพที่ 2 สมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร (Water Balance) จังหวัดปัตตานี
ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา (2552)
จากภาพที่ 2 แสดงถึงความสมดุลของน้ าในรอบ 1 ปี โดยพิจารณาจากความ
สัมพันธ์ระหว่างข้อมูลปริมาณน้ าฝน (rainfall) และค่าศักย์การคายระเหยของน้ า (potential
evapotranspiration, PET) ในระยะเวลาคาบ 50 ปี จะเห็นว่า ในช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน
เส้นปริมาณน้ าฝนอยู่ต่ ากว่าเส้น 0.5 PET แสดงว่ามีปริมาณน้ าฝนน้อยกว่าศักย์การคายระเหยน้ าเป็น
ช่วงที่ดินมีความแห้งแล้งไม่เหมาะแก่การท าการเกษตร ส่วนในช่วงเดือนเมษายน
ถึงเดือนกันยายน เส้นปริมาณน้ าฝนอยู่เหนือเส้น 0.5 PET แสดงว่ามีปริมาณน้ าฝนมากกว่าศักย์การ
คายระเหยน้ า จะเป็นช่วงที่ดินเริ่มมีความชุ่มชื้นซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกการเกษตร ในช่วงประมาณ
เดือนกันยายนจนถึงเดือนธันวาคม เส้นปริมาณน้ าฝนอยู่เหนือเส้น 0.5 PET มาก แสดงว่ามีปริมาณ
น้ าฝนมากกว่าศักย์การคายระเหยน้ ามาก ดินมีความชุ่มชื้นมากและมีปริมาณฝนตกมากขึ้นเนื่องจาก
เป็นฤดูมรสุม มีปริมาณมากเกินพอที่จะเก็บไว้ในดินได้ น้ าอาจไหลบ่าท่วมพื้นที่เพาะปลูกได้ ในขณะที่
ในรอบ 1 ปี จะพบช่วงที่แห้งแล้งอยู่ 1 ช่วงคือ ช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ช่วงดังกล่าวจะเห็น
ได้ว่าปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยต่ ากว่าอัตราการคายระเหยของน้ าจึงท าให้ดินมีความชื้นต่ ามากเมื่อเทียบกับ
ช่วงอื่นๆ ในรอบปี