Page 8 - ศึกษาการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา และปูนโดโลไมท์ต่อการควบคุมปริมาณเชื้อราไฟทอฟธอราของปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียน
P. 8
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
(6)
สารบัญภาพภาคผนวก
ภาพผนวกที่ หน้า
1 วัสดุเปลือกทุเรียน (ก) และการขนย้ายวัสดุเปลือกทุเรียนจากโรงงานแปรรูป (ข) 50
2 การบดย่อย (ก) และชั่งวัสดุเปลือกทุเรียน (ข) 50
3 การเตรียมกองวัสดุเปลือกทุเรียน (ก) และการตั้งกองเพื่อท าปุ๋ยหมัก (ข) 50
4 การเตรียมปูนโดโลไมท์ (ก) และชั่งวัสดุปูนโดโลไมท์ (ข) 51
5 การเตรียมเชื้อราไฟทอฟธอราที่ขยายเชื้อในสูตรอาหารวุ้น (ก) และการน าเชื้อรา 51
ที่อยู่ในรูปของสปอร์น ามาปั่นให้ละเอียดผสมกับน้ าเปล่าปริมาณ 1 ลิตร (ข)
6 การเตรียมเชื้อราไตรโคเดอร์มาที่น ามาขยายต่อเชื้อกับวัสดุแล้ว (ก) 51
และการเจือจางเชื้อราไตรเดอร์มากับน้ าเปล่า (dilute) จ านวน 10 ลิตร (ข)
7 การผสมมูลไก่ไข่กับวัสดุเปลือกทุเรียน (ก) และการผสมปูนโดโลไมท์กับวัสดุเปลือก 52
ทุเรียน (ข)
8 การคลุกเคล้าผสมปุ๋ยหมักเปลือกทุเรียนให้เข้ากัน (ก) และตั้งกองปุ๋ยหมัก 52
ที่ผสมเสร็จแล้วแต่ละต ารับ (ข)
9 การใส่เชื้อราไฟทอฟธอราที่ระยะเวลา 7 วัน (ก) และคลุกเคล้าหลังใส่เชื้อรา 52
ไฟทอฟธอรากองปุ๋ยหมัก (ข)
10 การใส่เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่ระยะเวลา 15 วัน (ก) และคลุกเคล้าหลังใส่ 53
เชื้อราไตรโคเดอร์มากองปุ๋ยหมัก (ข)
11 การคลุกเคล้ากลับกองปุ๋ยหมักหลังวัดอุณหภูมิ ที่ระยะเวลาทุก 15 วัน 53
12 การวัดอุณหภูมิกองปุ๋ยหมักที่ระยะเวลาเริ่มต้น และวัดอุณหภูมิกองปุ๋ยหมัก 53
ทุก 15 วัน
13 การเก็บตัวอย่างปุ๋ยหมักในกองปุ๋ยหมัก ที่ระยะเวลา 30 และ 60 วัน 54
14 การขยายเชื้อราไตรโคเดอร์มาเพิ่มปริมาณในห้องปฏิบัติการ (ก) และเพาะเลี้ยงใน 54
เชื้อข้าวฟ่างและร าหยาบ บรรจุถุงพลาสติกร้อนที่นึ่งฆ่าเชื้อแล้ว (ข)
15 ลักษณะโคโลนีของเชื้อรา Phytophthora palmivora เจริญออกมาจากชิ้นส่วน 54
ของเปลือกทุเรียนเป็นโรคโคนเน่า
16 ลักษณะสปอร์ของเชื้อรา Trichoderma viride ที่ฝังตัวอยู่ในเซลล์เนื้อเยื่อเปลือก 55
ทุเรียนท าหน้าที่ป้องกันและเข้าท าลายเชื้อราสาเหตุโรคพืช Phytophthora
palmivora ของทุเรียนภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน