Page 87 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 87

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       74







                       ในแปลงทดลองผักคะน้าและหอมแบ่ง ที่ได้จากการวิเคราะห์โดยห้องปฏิบัติการ และที่ตรวจสอบโดย
                       การใช้ชุดตรวจดินภาคสนาม อยู่ในระดับที่ไม่แตกต่างกัน จึงถือว่าชุดตรวจดินภาคสนามให้ค่า
                       วิเคราะห์ที่มีความสอดคล้องกับค่าวิเคราะห์ดินจากห้องปฏิบัติการ และเมื่อพิจารณาถึงประสิทธิภาพ
                       ของชุดตรวจดินภาคสนาม ในการให้ค าแนะน าอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี โดยเปรียบเทียบต้นทุนการผลิต

                       ด้านปุ๋ย ผลผลิตพืช และผลตอบแทนที่ได้ต่อต้นทุนด้านปุ๋ยหนึ่งหน่วย ระหว่างอัตราการใส่ปุ๋ยในต ารับ
                       การทดลองที่ 2 และ อัตราการใส่ปุ๋ยในต ารับการทดลองที่ 6 พบว่า ในการปลูกผักคะน้าและหอมแบ่ง
                       อัตราการใส่ปุ๋ยในต ารับการทดลองที่ 6  สามารถลดต้นทุนการผลิตด้านปุ๋ยลงได้ 25  และ 70  %
                       ตามล าดับ ส่วนผลผลิตเพิ่มขึ้นประมาณ 27 และ 17 % ตามล าดับ ในขณะที่ผลตอบแทนต่อต้นทุน

                       ด้านปุ๋ยหนึ่งหน่วยเพิ่มจาก 23.5 เป็น 39.6 ส าหรับผักคะน้า และ หอมแบ่งเพิ่มจาก 15.6 เป็น 60.8
                              ในการก าหนดอัตราปุ๋ยส าหรับผักคะน้าและหอมแบ่ง ส าหรับต ารับการทดลองที่ 6  ซึ่งได้ใช้
                       ผลการวิเคราะห์ดินจากชุดตรวจดินภาคสนามในการประเมินคุณภาพของดิน และใช้เกณฑ์การให้

                       ค าแนะน าปุ๋ยของกรมวิชาการเกษตร ในการก าหนดอัตราการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ

                       โพแทสเซียมนั้น ภายใต้เกณฑ์การให้ค าแนะน าปุ๋ยดังกล่าว หากดินที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
                       ประโยชน์ได้ อยู่ในระดับปานกลาง (10-20  มก.P/กก.)  และในระดับสูง (>20 มก.P/กก.) ยังมี

                       ค าแนะน าให้ใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสในอัตรา 5 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ส่วนการใส่ปุ๋ยโพแทสเซียม ในดินจะมี
                                                                 2 5
                       ระดับโพแทสเซียมแลกเปลี่ยนได้ในระดับปานกลาง (60-100 มก.K/กก.) และในระดับสูง (>100 มก.
                       K/กก.) ยังคงมีค าแนะน าให้ใส่ในอัตรา 10 และ 5 กิโลกรัม K O ต่อไร่ ตามล าดับ
                                                                        2
                              ดังนั้นในแปลงการทดลองปลูกผักคะน้าและหอมแบ่ง ซึ่งในดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
                       ประโยชน์ได้ในระดับสูงมาก (>45 มก.P/กก.) และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ในระดับสูง (>

                       100 มก.K/กก.) และสูงมาก (>120 มก.K/กก.) ตามล าดับ จึงยังมีการใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส และ
                       โพแทสเซียม ส าหรับอัตราการใส่ปุ๋ยในต ารับการทดลองที่ 6  หลักเกณฑ์ในการให้ค าแนะน าการใส่ปุ๋ย

                       ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมส าหรับพืชผักดังกล่าว ยังไม่เหมาะสมเท่าที่ควร เพราะเมื่อพิจารณาจาก

                       ปริมาณของ ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักคะน้าซึ่งให้ผลผลิตสูงสุด
                       3,954  กิโลกรัมต่อไร่ ในการทดลอง พ.ศ. 2558  พบว่า มีการสะสม ฟอสฟอรัส  1.87 กิโลกรัมต่อไร่

                       และ โพแทสเซียม 20.38 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนหอมแบ่ง ซึ่งให้ผลผลิตสูงสุด 4,376 กิโลกรัมต่อไร่ มีการ

                       สะสม ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในส่วนเหนือดินเท่ากับ 1.42 และ 9.69 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ
                       ปริมาณของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ได้ในดิน ซึ่งมีอยู่ในระดับสูง เมื่อคิดเป็นปริมาณฟอสฟอรัสต่อ

                       ไร่ มีมากถึง 14  กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งมีมากกว่าฟอสฟอรัสที่สะสมในผลผลิตผักคะน้าและหอมแบ่ง ใน
                       ต ารับการทดลองที่ให้ผลผลิตสูงสุดประมาณ 7.5 และ 9.9 เท่า ตามล าดับ ส่วนปริมาณโพแทสเซียมที่

                       สามารถแลกเปลี่ยนได้ ในดินของแปลงทดลองปลูกผักคะน้าและหอมแบ่ง ในต ารับการทดลองที่ 6
                       ซึ่งอยู่ในระดับสูงและสูงมากเมื่อคิดเป็นปริมาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ในดินต่อไร่ มี

                       ประมาณ 31.2 และ 37.44 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ถือได้ว่ามากกว่าโพแทสเซียมที่สะสมในผลผลิต

                       ผักคะน้าและหอมแบ่ง การใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในการปลูกผักคะน้าและหอมแบ่งในดินที่
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92