Page 86 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 86

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       73








                             รายได้ต่อต้นทุนด้านปุ๋ยหนึ่งหน่วย พ.ศ. 57  รายได้ต่อต้นทุนด้านปุ๋ยหนึ่งหน่วย พ.ศ. 58
                          600
                                                                       101.5

                          500
                                                                        397.1
                         400
                                                                                    72.6

                         รายได้ต่อต้นทุนด้านปุ๋ยหนึ่งหน่วย  300                    217.6
                          200
                                                          57.2                                  60.8
                          100                  15.6       41.7                                  40.2

                                    0 0        22.2
                         0
                                    1           2           3            4           5           6

                                                            ต ารับการทดลอง

                       ภาพที่ 14  แสดงรายได้ต่อต้นทุนหนึ่งหน่วยของหอมแบ่ง 2 ปี (พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558)

                              ด้านรายได้ต่อต้นทุนหนึ่งหน่วย ในแต่ละต ารับการทดลองของผักคะน้า 2 ปี เริ่มต้น พ.ศ.

                       2557  ถึง พ.ศ. 2558  พบว่าในต ารับการทดลองที่ 4 มีรายได้ต่อต้นทุนหนึ่งหน่วยสูงที่สุด ในขณะ
                       ที่ต ารับการทดลองที่ 2  มีต้นทุนการผลิตต่ าที่สุด ส าหรับในต ารับการทดลองที่ 6  และ ต ารับการ
                       ทดลองที่ 3  มีรายได้ต่อต้นทุนหนึ่งหน่วยสูงกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับต ารับการทดลองที่  2  โดยที่

                       ผลผลิตไม่ลดลง ดังภาพที่ 14

                              ในการประเมินประสิทธิภาพของชุดตรวจดินภาคสนาม ได้ใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินดังนี้
                              1.  ความสอดคล้องของค่าวิเคราะห์ดิน โดยเปรียบเทียบระดับของอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่

                       เป็นประโยชน์ได้ และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ ที่วิเคราะห์โดยห้องปฏิบัติการกับค่า
                       วิเคราะห์ที่ตรวจสอบโดยการใช้ชุดตรวจดินภาคสนาม และมีสมมุติฐานว่า ค่าวิเคราะห์มีความ
                       สอดคล้องกัน เมื่อระดับแตกต่างกัน 1 ระดับ
                              2. ชุดตรวจสอบดินภาคสนาม สามารถใช้ส าหรับให้ค าแนะน าการใส่ปุ๋ยเคมีได้ ถ้าอัตราปุ๋ยที่

                       แนะน าโดยการใช้ค่าวิเคราะห์จากชุดตรวจสอบดินภาคสนาม สามารถลดต้นทุนการใส่ปุ๋ยเมื่อ
                       เปรียบเทียบกับอัตราเกษตรกร โดยผลผลิตไม่แตกต่างหรือได้มากกว่าหรือได้ผลตอบแทนทาง
                       เศรษฐกิจต่อการลงทุนด้านปุ๋ยหนึ่งหน่วยมากกว่าการใส่ปุ๋ยอัตราเกษตรกร
                              จากเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพของชุดตรวจดินภาคสนามข้อที่ 1  พบว่าค่าวิเคราะห์

                       อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ได้ และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ ของดินก่อนปลูก
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91