Page 72 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 72

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       59







                                     4) การสะสมธาตุอาหารในผลผลิต
                                     ด้านผลของอัตราการใส่ปุ๋ยต่อการสะสม ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
                       ในผลผลิตของหอมแบ่งพบว่า การสะสมไนโตรเจน ในต ารับการทดลองที่ 1  มีค่าต่ าสุด คือ 8.73
                       กิโลกรัมต่อไร่ แตกต่างกันในทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับต ารับการทดลองที่ 2, 3, 5 และ 6 ที่มีค่า

                       15.40,  15.50, 14.70 และ 17.50  กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
                       กับ ต ารับการทดลองที่ 4 ที่มีค่า 12.19 กิโลกรัมต่อไร่ และในต ารับการทดลองที่ 6 มีค่าสูงสุด คือ
                       17.50    กิโลกรัมต่อไร่ ส าหรับการสะสมฟอสฟอรัส พบว่าต ารับการทดลองที่ 1 มีค่าต่ าสุด คือ
                       1.68 กิโลกรัมต่อไร่ แตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับ ต ารับการทดลองที่ 2, 3, 4, 5 และ 6

                       ที่มีค่า 2.38,  2.35, 2.29, 2.20  และ 2.51 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ และในต ารับการทดลองที่ 6
                       มีค่าสูงสุด คือ 2.51 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนการสะสมโพแทสเซียม พบว่าในต ารับการทดลองที่ 1 มีค่า
                       ต่ าสุด คือ 9.27  กิโลกรัมต่อไร่ แตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับ ต ารับการทดลองที่ 2, 4,
                       5 และ 6 ที่มีค่า 12.71, 12.94, 15.17 และ 16.04 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับแต่ไม่มีความแตกต่าง

                       กันทางสถิติกับต ารับการทดลองที่ 3 ที่มีค่า 12.01 กิโลกรัมต่อไร่ และในต ารับการทดลองที่ 6
                       มีค่าสูงสุด คือ 16.04  กิโลกรัมต่อไร่ ดังตารางที่ 34

                                                     1
                       ตารางที่ 34  ผลของอัตราการใส่ปุ๋ย  ต่อการสะสมไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
                                       ในผลผลิตของหอมแบ่ง (กิโลกรัมต่อไร่) พ.ศ. 2557

                        ต ารับ             วิธีการ            N-P O -K O  การสะสมธาตุอาหารในผลผลิต
                                                                  2 5
                                                                       2
                          ที่                                   (กก./ไร่)              (กก./ไร่)
                                                                                N         P         K
                          1                ไม่ใส่ปุ๋ย            0-0-0       8.73  c  1.68 b  9.27  c

                          2               เกษตรกร               20-11-11    15.40 ab  2.38 a  12.71  b

                          3           กรมวิชาการเกษตร            15-5-5     15.50 ab  2.35 a  12.01 bc
                                              3
                          4      Uptake N-INS , Critical P, K    3.9-0-0    12.19 bc  2.29 a  12.94  b
                          5         Uptake+30%uptake             7.2-0-0    14.70 ab  2.20 a  15.17 ab
                          6           LDD soil test kit          20-5-5      17.50  a  2.51 a  16.04  a

                                                                                 2
                                                                F - test        *         *         *
                                                                 CV (%)       15.63     14.27     13.48

                       หมายเหตุ:     1  ค่าเฉลี่ยของ 4 ซ้ า
                                     2
                                       * หมายถึง แตกต่างกันที่ระดับ 0.05
                                     3
                                       INS หมายถึง indigenous N supply หรือ ปริมาณการปลดปล่อยไนโตรเจน
                                       จากอินทรียวัตถุในดิน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77