Page 68 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับการจัดการปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชผักในจังหวัดลำพูน
P. 68

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       55







                                  2.3 ผลผลิตผักคะน้าเฉลี่ย 2 ปี (พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558)
                                     1) น้ าหนักสดผลผลิตตัดแต่ง
                                     ผลของอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี ต่อน้ าหนักสดผลผลิตตัดแต่ง ของผักคะน้า  เฉลี่ย 2 ปี
                       (พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2558) พบว่าค่าเฉลี่ยน้ าหนักสดผลผลิตผักคะน้าของต ารับการทดลองที่ 1 มีค่า

                       ต่ าสุด คือ 1,793 กิโลกรัมต่อไร่ แตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับทุกต ารับการทดลอง โดย
                       วิธีการที่ 2, 3, 4, 5 และ 6  มีค่า 2,571, 3,445, 3,175, 3,625 และ 3,403 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ
                       ดังตารางที่ 31

                                                        1
                       ตารางที่ 31  ผลของอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี  ต่อน้ าหนักสดผลผลิตตัดแต่ง ของผักคะน้า (กิโลกรัมต่อไร่)
                                       เฉลี่ย 2 ปี (พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558)

                        ต ารับ                วิธีการ                             น้ าหนักสดผลผลิตตัดแต่ง

                          ที่                                                             (กก./ไร่)
                          1                  ไม่ใส่ปุ๋ย                                   1,793  c

                          2                  เกษตรกร                                     2,571  b
                          3              กรมวิชาการเกษตร                                  3,445  a

                                                 3
                          4         Uptake N-INS , Critical P, K                         3,175 ab
                          5           Uptake + 30%uptake                                  3,625  a
                          6              LDD soil test kit                                3,403  a
                                                                                              2
                                                                      F - test              **
                                                                      CV (%)               18.76


                       หมายเหตุ:     1  ค่าเฉลี่ยของ 4 ซ้ า
                                     2
                                       ** หมายถึง แตกต่างกันที่ระดับ 0.01
                                     3
                                       INS หมายถึง indigenous N supply หรือ ปริมาณการปลดปล่อยไนโตรเจน
                                       จากอินทรียวัตถุในดิน

                              จากตารางที่ 31  พบว่า เมื่อวิเคราะห์ดินก่อนปลูกในการปลูกผักคะน้า โดยใช้ชุดตรวจดิน
                       ภาคสนาม สามารถให้ค าแนะน าอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี ใกล้เคียงกับค่าวิเคราะห์ดินจากห้องปฏิบัติการที่

                       กรมวิชาการน ามาให้ค าแนะน าอัตราการใส่ปุ๋ย โดยผลผลิตผักคะน้าไม่แตกต่างกันทางสถิติ นอกจากนี้
                       ยังพบว่า การใช้ชุดตรวจดินภาคสนาม สามารถให้ค าแนะน าอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี ยังให้ผลผลิตผักคะน้า
                       มากกว่าอัตราการใส่ปุ๋ยตามวิธีของเกษตรกรที่เคยปฏิบัติ โดยมีความแตกต่างกันทางสถิติ
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73