Page 11 - ศักยภาพของพื้นที่ใช้ในการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดยโสธร
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                4







                                  5)    การสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS database)
                                        เป็นการจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial  data)  และข้อมูลเชิงคุณลักษณะ
                       (Attribute  data) ของข้อมูลจากภาคสนาม และข้อมูลแผนที่จากส่วนที่เกี่ยวข้องโดยการน าเข้าใน
                       ระบบสารสนเทศด้วยโปรแกรมวิเคราะห์และประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดังนี้

                                        (1)  การสร้างฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ เป็นการน าเข้าข้อมูลในรูปแผนที่เพื่อใช้วิเคราะห์
                       และประมวลผลเชิงพื้นที่
                                        (2)  การสร้างฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ เป็นการน าเข้าข้อมูลด้านคุณลักษณะ
                       ของแผนที่และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเชิงพื้นที่ เพื่อท าให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั้ง 2 ประเภท

                       เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ต่อไป
                                  6)    จัดท าแผนที่สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2559 มาตราส่วน 1: 25,000
                                  7)    วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจังหวัดพิจิตร 2 ช่วงเวลา ระหว่าง พ.ศ.2556
                       และพ.ศ. 2559 พร้อมจัดท าแผนที่ ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยการซ้อนทับข้อมูล (Overlay)

                       และวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial analysis) ท าให้ได้ทราบความสัมพันธ์ระหว่างประเภทการใช้ที่ดินว่าพื้นที่
                       การใช้ที่ดินแต่ละประเภทเพิ่มขึ้นหรือลดลง กรณีเพิ่มขึ้นเป็นการเปลี่ยนแปลงมาจากการใช้ที่ดินประเภท
                       ใด และในกรณีลดลงเป็นการเปลี่ยนแปลงไปสู่การใช้ที่ดินประเภทใด โดยสามารถแสดงผลออกมาในรูป

                       ของตารางเมตริก (Confusion matrix) ซึ่งก าหนดให้การใช้ที่ดินในอดีตอยู่ในแกนตั้ง และการใช้ที่ดินในปี
                       ปัจจุบันอยู่ในแกนนอน แบ่งการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ได้เป็น 3 ลักษณะ (ดังแสดงในตารางที่ 1) ได้แก่
                                        -    ประเภทพื้นที่ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง (คงที่) อยู่ในแนวทแยงจากซ้ายไป
                       ขวาของตาราง
                                        -    ประเภทพื้นที่ที่ลดลง (-) อยู่ในด้านแกนนอน บอกให้ทราบว่าพื้นที่ของ

                       การใช้ที่ดินในอดีตที่ลดลงนั้น เปลี่ยนแปลงไปเป็นประเภทการใช้ที่ดินในปีปัจจุบัน
                                        -    ประเภทพื้นที่ที่เพิ่มขึ้น (+) อยู่ในด้านแกนตั้ง บอกให้ทราบว่าพื้นที่ของ
                       การใช้ที่ดินในปีปัจจุบันที่เพิ่มขึ้นนั้น เปลี่ยนแปลงมาจากประเภทการใช้ที่ดินในอดีต

                                  8)    จัดท ารายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจังหวัดพิจิตร
                       พ.ศ. 2559 (ขั้นตอนและวิธีด าเนินงานดังแสดงในภาพที่ 1)

                       ตารางที่ 1  ลักษณะการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน แบบ 2 ช่วงเวลา ในรูปแบบของตารางเมตริก


                                                         การใช้ที่ดินปีปัจจุบัน
                                             1
                              ประเภท        คงที่      2          3          4          5          …
                          การใช้ที่ดินในอดีต   2        คงที่    คงที่

                                 1





                                 3


                                 4
                                 5                                          คงที่      คงที่

                                 …                                                                คงที่
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16