Page 78 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน










                                                             บทที่ 5
                                                        สรุปผลการศึกษา



                       5.1 การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้า

                                 มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินเมื่อมีการใช้ประโยชน์ที่ดินบนพื้น

                       ลาดชัน โดยใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าที่เหมาะสมการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้า ในโครงการ

                       พัฒนาลดการเผาพื้นที่เกษตรโล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน เริ่มด้าเนินงานในเดือน
                       ตุลาคม 2558 สิ้นสุดเดือนกันยายน 2559 กิจกรรมงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้าได้ก่อสร้าง

                       มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าตามที่คณะกรรมการส้ารวจเพื่อออกแบบงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้า
                       ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ได้ออกแบบไว้ให้ ก่อนการด้าเนินงานโครงการ เกษตรกรในพื้นที่แสดง

                       ความคิดเห็นและเสนอปัญหาที่เกิดขึ้น เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน ซึ่งสามารถสรุปปัญหาได้ คือ

                       ปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน ปัญหาขาดแคลนน้้าในช่วงฤดูแล้ง และน้้าท่วมฉับพลันในช่วงฤดูฝน
                       สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนชันจนถึงสูงชัน งานก่อสร้างมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าประกอบด้วย

                                     5.1.1 คันดินแบบ 6 จ้านวน  20.25 กิโลเมตร

                                     5.1.2 บ่อดักตะกอนดินจ้านวน    8 บ่อ
                                     5.1.3 ฝายชะลอความเร็วของน้้า   จ้านวน 4 จุด


                       5.2 ผลส้าเร็จของการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน ้า


                                การใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าในโครงการหลังจากด้าเนินงานก่อสร้างมาตรการ
                       อนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่เป้าหมายเสร็จ ได้ประเมินผลส้าเร็จของการด้าเนินงานโดยมีตัวชี้วัด คือ


                                     5.2.1 การประเมินปริมาณน้้าไหลบ่า  พื้นที่เป้าหมายมีปริมาณน้้าไหลบ่ารวม
                       79,234.63 ลูกบาศก์เมตร อัตราของน้้าไหลบ่าสูงสุดเฉลี่ย 3.96  ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที บ่อดัก

                       ตะกอนดิน 8 จุด สามารถเก็บกักน้้าได้ 1,472.50 ลูกบาศก์เมตร น้้าไหลบ่าในพื้นที่ถูกกักเก็บไว้
                       1,326 ลูกบาศก์เมตร ฝายชะลอความเร็วของน้้า 4 จุด 120 ลูกบาศก์เมตร รวมทั้งหมด 1,592.50

                       ลูกบาศก์เมตร ที่เหลือลงสู่แหล่งน้้าธรรมชาติน้้าประมาณ 77,642.13 ลูกบาศก์เมตร ลงสู่แหล่งน้้ารรม

                       ชาติซึ่งจะไปเติมน้้าให้ล้าธารหลัก (main stream) คือแม่น้้าพี้ และน้้าไหลบ่าเหล่านี้จะไปเติมให้แม่น้้า
                       ยมต่อไป


                                     5.2.2 การประเมินปริมาณสูญเสียดิน ปริมาณการสูญเสียดินลดลงประมาณ 82
                       เปอร์เซ็นต์ จากก่อนด้าเนินงานมีปริมาณการสูญเสียดิน 97.36 ตันต่อไร่ต่อปี หลังจากด้าเนินงานมี

                       ปริมาณ 17.52 ตันต่อไร่ต่อปี แต่ยังคงมีปริมาณสูงกว่าที่กรมพัฒนาที่ดินยอมรับ คือ 2 ตันต่อไร่ต่อปี
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83