Page 80 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 80

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       61







                       ตามล้าดับโดยพืชไร่ใช้ ในอัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านแล้วไถกลบก่อนปลูก ส่วนยางพาราใส่
                       บริเวณรอบโคนต้นในอัตรา 100 กรัมต่อต้น แล้วพรวนกลบ ควรใส่เดือนละ 1 ครั้ง


                                     5.3.4 การใช้ปุ๋ยเคมีอย่างถูกหลักวิชาการ ในพื้นที่เป้าหมายเกษตรกรปลูกพืชไร่
                       (ข้าวโพด) และไม้ผล โดยแบ่งออกเป็นสองวิธี คือ การให้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินซึ่งมีข้อมูลอยู่ใน

                       โปรแกรมดินไทย และอีกวิธีหนึ่งคือ การให้ปุ๋ยตามผลการศึกษาวิจัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งได้
                       ศึกษาวิจัยในพื้นที่ตัวแทน


                       5.4 ข้อเสนอแนะ

                                 พื้นที่ลาดชันมีปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน การบุกรุกพื้นที่ป่าต้นน้้าซึ่งพื้นที่เหล่านี้

                       อยู่ในพื้นที่ต้นน้้าของลุ่มน้้านั้นๆ ท้าให้มีผลกระทบต่อผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณพื้นที่กลางน้้าและปลายน้้า
                       ดังนั้นการอนุรักษ์ดินและน้้าจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มี

                       ผลกระทบต่อพื้นที่ลุ่มน้้าดังนั้นสถานีพัฒนาที่ดินควรจะมีการด้าเนินงานอย่างต่อเนื่องการใช้ประโยชน์

                       ที่ดินโดยเกษตรกรมีความจ้าเป็นต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าเพื่อลดปัญหาการเสื่อมโทรมอย่าง
                       รวดเร็วของดิน   นอกจากนั้นช่วยลดปัญหาการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน

                       พื้นที่ลุ่มน้้าเนื่องจากพื้นที่เป้าหมายเป็นพื้นที่ต้นน้้าเป็นลุ่มน้้าย่อย (sub water shade) ของลุ่มน้้า
                       ดังนั้นหลังจากที่ได้จัดระบบการอนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่บ้านดอนสถานีพัฒนาที่ดิน และผู้เกี่ยวข้อง


                       ควรมีแนวทางการจัดการทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน ดังนี้
                                     5.4.1 พิจารณาคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายอย่างต่อเนื่อง เพื่อน้าโครงการนี้เข้าไปช่วย
                       แก้ไขปัญญา

                                     5.4.2 ควรร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรณรงค์การใช้ประโยชน์ที่ดินบนพื้นที่ลาดชัน

                       อย่างถูกต้องและครบวงจรเช่น หน่วยงานด้านเกษตร ปกครอง สาธารณสุข การศึกษา ฯลฯ เนื่องจาก
                       ปัญหาดังกล่าวมีผลกระทบไปทุกส่วนของสังคม

                                     5.4.3 ควรมีการเก็บข้อมูลเชิงวิชาการเช่น การตั้งสถานีเก็บตะกอนดิน การใช้
                       เครื่องมือวัดความชื้นในดิน

                                     5.4.4 ควรให้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์

                       website ฯลฯ ด้านการแก้ไขปัญหาในด้านทรัพยากรดินแก่เกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่าง
                       กว้างขวางเพื่อมีการขยายผลในพื้นที่อื่นต่อไป

                                    5.4.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีระบบการอนุรักษ์ดินและน้้า ที่เกษตรกรสามารถท้า
                       ได้ด้วยตนเอง เช่น การปลูกหญ้าแฝก การปลูกพืชตามแนวระดับ การปลูกพืชสลับเป็นแถบ เป็นต้น
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85