Page 73 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 73

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       56






                       กิจกรรมจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าหลังจากก่อสร้างตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2558 ถึง เดือนกันยายน
                       2559 สรุปได้ดังนี้(ภาพที่ 11)

                               1. คันดินแบบที่ 6 จ านวน  20.25 กิโลเมตร (คูรับน้ าขอบเขา Hillside ditch) เป็นการขุด
                       เคลื่อนย้ายดิน โดยสร้างในพื้นที่ที่มีความลาดชันและเกษตรกรใช้พื้นที่ในการปลูกพืชไร่ เพื่อป้องกัน

                       การชะล้างพังทลายของดินและลดปริมาณน้ าไหลบ่า โดยน้ าไหลบ่าจะถูกระบายไปตามคูรับน้ า ลงสู่

                       ร่องน้ าหรือทางระบายน้ าธรรมชาติ ลดปัญหาการไหลบ่าของน้ าและการกัดเซาะหน้าดิน ท าให้เกิด
                       การสูญเสียดิน การสร้างคันดินจะใช้ระยะห่างระหว่างคันดินในแนวดิ่ง 4 เมตรดังนั้นแต่ละคันดินจะมี

                       ระยะห่างในแนวราบ 8-10 เมตร ช่วยชะลอความเร็วของน้ าไหลบ่าเป็นช่วงซึ่งจะช่วยลดการกัดเซาะ
                       หน้าดินลง จากการค านวณโดยใช้สมาการสูญเสียดินสากล จะลดปริมาณการสูญเสียดินลงประมาณ

                       82 เปอร์เซ็นต์ จากก่อนด าเนินงานมีปริมาณการสูญเสียดิน 97.36 ตันต่อไร่ต่อปี หลังจากด าเนินงาน

                       มีปริมาณ 17.52 ตันต่อไร่ต่อปี สาเหตุที่ต้องใช้คันดินแบบ 6 เนื่องจากพื้นที่ด าเนินงานมีข้อจ ากัดใน
                       การใช้เครื่องจักกลยาก ทั้งด้านกายภาพและกฎหมายป่าไม้ จึงใช้แรงงานคน และคันดินแบบ 6 ช่วย

                       เบนน้ าไหลบ่าบางส่วนลงสู่บ่อดักตะกอนดินที่ก่อสร้างรับแนวคันดินไว้ สามารถเก็บกักน้ าหรือระบาย

                       น้ าออกไปในทิศทางที่ต้องการ ท าให้น้ าไหลบ่าแต่ละช่วงมีน้อย เพื่อลดความรุนแรงของการชะล้าง
                       พังทลายของดินจากปริมาณน้ าไหลบ่าหน้าดิน และใช้พื้นที่ระหว่างคันดินเป็นพื้นที่เพาะปลูกพืช

                       นอกจากนี้ยังใช้เป็นทางล าเลียงได้

                               2. บ่อดักตะกอนดิน จ านวน 8 บ่อ เป็นบ่อขนาดเล็กที่สร้างขึ้นเพื่อดักตะกอนที่ไหลมาตาม

                       ทางระบายน้ า ก่อนลงสู่บ่อน้ าประจ าไร่นาช่วยดักตะกอนที่ไหลมาตามน้ าไม่ให้ลงไปทับถมบ่อน้ า
                       ประจ าไร่นา ท าให้อายุการใช้งานของบ่อน้ ายาวนานขึ้น  นอกจากนั้นยังช่วยเก็บกักน้ าไว้ได้บางส่วน

                       ท าให้เกษตรกรมีน้ าใช้ในช่วงแล้งส าหรับใช้เลี้ยงสัตว์   จากการประเมินปริมาณน้ าไหลบ่า   พื้นที่

                       เป้าหมายมีปริมาณน้ าไหลบ่ารวม 79,234.63    ลูกบาศ์กเมตร อัตราของน้ าไหลบ่าสูงสุดเฉลี่ย 3.96
                       ลูกบาศ์กเมตรต่อวินาที บ่อดักตะกอนดิน 8 จุด และฝายชะลอความเร็วของน้ าชั่วคราว 4 จุด

                       สามารถเก็บกักน้ าได้ 1,592.50  ลูกบาศ์กเมตร น้ าไหลบ่าในพื้นที่ถูกกักเก็บไว้ 1,592.50  ลูกบาศ์ก
                       เมตร เหลืออีก 77,642.13 ลูกบาศ์กเมตร ลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติซึ่งจะไปเติมน้ าให้ล าธารหลัก (main

                       stream) คือแม่น้ าพี้ และแม่น้ ายมต่อไป สาเหตุที่ต้องใช้บ่อดักตะกอนดินเนื่องจากสภาพพื้นที่ที่จะ

                       ก่อสร้างมีความเหมาะสม ซึ่งจะช่วยเก็บน้ าไหลบ่าจากคูรับน้ าแบบ 6 และดักตะกอนดินที่มากับน้ า
                       ไหลบ่าให้ตกตะกอนก่อนลงสู่ทางน้ าธรรมชาติต่อไปเป็นการรักษาคุณภาพของน้ า และใช้น้ าปลูกพืช

                       เศรษฐกิจชนิดต่างๆ ได้

                               3. ฝายชะลอความเร็วของน้ า จ านวน 4 จุด เป็นฝายชะลอน้ าแบบเรียงด้วยกระสอบบรรจุ

                       ทรายผสมซีเมนต์ (soil cement) เหมาะส าหรับล าห้วยที่มีความลาดชันน้อย มีปริมาณน้ าไหลไม่มาก

                       และล าห้วยไม่กว้างมาก โดยก่อสร้างในร่องน้ าขนาดเล็ก เพื่อชะลอความเร็วของน้ าเมื่อมีฝน ลดการ
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78