Page 79 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 79

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       61






                       จังหวัด แผนพัฒนาการเกษตร ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์การบริหารส่วนต าบล แผนงานและ
                       โครงการต่างๆ ได้แก่
                                   จุดแข็ง (S : Strength) 1) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ  เป็นแหล่งผลิตข้าวขาวดอกมะลิ
                       105 และ 2) ด้านเศรษฐกิจ เกษตรกรปลูกข้าวเป็นพืชหลักส าหรับบริโภคและขายเป็นรายได้ โดย
                       เกษตรกรมีที่ท ากินเป็นของตนเองประมาณร้อยละ 94 โดยมีเอกสารสิทธิ์ และมีแหล่งรับซื้อผลผลิต

                       ได้แก่ โรงสีข้าว พ่อค้าเข้ามารับซื้อ โครงการรับจ าน าข้าวเปลือกของรัฐบาลในพื้นที่ จุดอ่อน  (W  :
                       Weakness) คือ 1) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ มีทรัพยากรดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปริมาณน้ าเพื่อ
                       การเกษตรไม่เพียงพอ (การท าเกษตรอาศัยน้ าฝนเป็นหลัก) และแหล่งน้ าธรรมชาติตื้นเขินในฤดูแล้งไม่

                       สามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มที่ ด้านโครงสร้างพื้นฐานของพื้นที่ศึกษาขาดแคลนแหล่งกักเก็บน้ าเพื่อ
                       ป้องกันน้ าท่วมในฤดูฝนและเก็บน้ าไว้ใช้ในฤดูแล้ง/ไม่มีระบบระบายน้ าในพื้นที่เกษตรและชุมชน ด้าน
                       เศรษฐกิจรายได้/อาชีพเสริมไม่ตลอดปี/รายได้น้อยไม่เพียงพอกับการครองชีพ โอกาส  (O  :
                       Opportunities) มีแผนพัฒนาการเกษตร โดยก าหนดเป็นแผนถ่ายทอดเทคโนโลยี แผนการลงทุน

                       (แผนธุรกิจชุมชน) และแผนปรับปรุงฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์
                       ข้าวพันธุ์ดี โครงการเศรษฐกิจพอเพียง โครงการเกษตรอินทรีย์ โครงการส่งเสริมการแปรรูปพริก
                       โครงการส่งเสริมการเพาะเห็ด โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโค-กระบือ โครงการส่งเสริมการปลูกหม่อน
                       เลี้ยงไหม โครงการเกษตรผสมผสาน โครงการเลี้ยงสัตว์น้ า (ปลาดุก ปลานิล และกบ) โครงการแปรรูป

                       เนื้อสัตว์และสัตว์น้ า โครงการจัดท าแปลงข้าวหอมมะลิอินทรีย์ โครงการส่งเสริมการเลี้ยงไก่-เป็ด
                       โครงการปรับปรุงบ ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ โครงการปลูกป่าชุมชน และโครงการผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็น
                       ต้น อุปสรรค์ (T : Threat) ภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อการผลิตและการด าเนินงานพัฒนา
                               4)  การจัดการทรัพยากรดินโครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60  เขตปฐพีพัฒนา

                       อย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า ห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน อ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
                                    ปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา และแผนกิจกรรมที่กรมพัฒนาที่ดินควรด าเนินการ เพื่อ
                       เป็นแนวทางในการจัดท าแผนแม่บทการพัฒนาที่ดินทั้งหมด 5 ปัญหา คือ 1. ปัญหาทรัพยากรดิน 2.

                       ปัญหาทรัพยากรน้ า 3. ปัญหาด้านการเกษตร 4. ปัญหาด้านการตลาด และ 5. ปัญหาทางด้านสังคม
                       การจัดท าแผนปฏิบัติการ 5 ปี (พ.ศ. 2554-2559) โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขต
                       ปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน อ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ มี                                      51
                       กิจกรรมหลัก ดังนี้
                                     4.1) กิจกรรมทั่วไปที่สามารถด าเนินการได้ในทุกเขตพัฒนาที่ดิน เช่น การจัดตั้งกลุ่ม

                       เกษตรกรใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร การรณรงค์งดเผาฟางและตอซังพืช จัดท าศูนย์
                       เรียนรู้การพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง การอบรมหมอดินอาสา การส่งเสริมการปรับปรุง
                       บ ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ การปลูกหญ้าแฝก ปรับปรุงดินกรด ปรับปรุงบ ารุงดินด้วยพืชปุ๋ยสด

                                     4.2) กิจกรรมเฉพาะจุดที่ท าการสาธิตเพื่อการขยายผล ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่และ
                       ปัญหาแต่ละแห่ง เช่น การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ดอน หรือพื้นที่ลุ่มจะมีลักษณะแตกต่างกัน
                       ไปนอกจากนี้ยังมีแปลงสาธิตปลูกพืชรูปแบบต่างๆ การพัฒนาแหล่งน้ าเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ า
                                     โดยการด าเนินงานทุกขั้นตอน จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร

                       และคณะท างานเขตพัฒนาที่ดินทุกระดับ และมีการติดตามผลเป็นระยะส าหรับระยะเวลาด าเนินการ                                                   54





                                                                                                                                                              54
                                                                                                                                                              54
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84