Page 74 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 74

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       56


                       4.2 ศึกษาผลส าเร็จการใช้ที่ดินที่เหมาะสมในโครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขต

                            ปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน อ าเภอเมือง จังหวัด
                            ศรีสะเกษ
                             4.2.1 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน
                                  1) จากการวิเคราะห์ดินในพื้นที่แปลงปลูกพริกของเกษตรกร (ตารางที่ 4.7)

                                     1.1) ผลการวิเคราะห์ดินก่อนด้าเนินโครงการฯ พบว่า ดินมีความเป็นกรดเป็นด่างอยู่
                       ในช่วง 4.4-6.8 ซึ่งเป็นมีค่ากรดจัดมากถึงเป็นกลาง มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับ
                       ปานกลางถึงมีค่าสูงมาก  คือมีค่าเป็น  12-256  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยมีปริมาณโพแทสเซียมที่
                       แลกเปลี่ยนได้ ซึ่งมีค่าอยู่ในช่วง 22-240 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งอยู่ในระดับที่มีค่าต่้ามากถึงมีค่าสูง

                       มาก และมีปริมาณอินทรีย์วัตถุมีค่าเป็น 0.4-1.84  เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นค่าที่ต่้ามากถึงมีค่าค่อนข้างต่้า
                       และ
                                     1.2) ผลการวิเคราะห์ดินห์ภายหลังการด้าเนินโครงการแล้วพบว่ามีผลการวิเคราะห์

                       ดินเป็นดังนี้ คือ มีความเป็นกรดเป็นด่างพบอยู่ในช่วง 4.6-7.4  ซึ่งเป็นกรดจัดถึงมีค่าเป็นด่างอ่อน มี
                       ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ อยู่ในระดับ 30-298 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นค่าที่สูงถึงมีค่าสูง
                       มาก และมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ในระดับต่้ามากถึงระดับที่สูงมาก มีค่าเท่ากับ 18-
                       250 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนปริมาณอินทรีย์วัตถุพบว่า 0.62-1.90 เปอร์เซ็นต์
                       ซึ่งมีค่าที่ต่้าถึงมีค่าปานกลาง

                                  2) ผลการวิเคราะห์ดินในพื้นที่แปลงปลูกข้าวของเกษตรกร (ตารางที่ 4.7)
                                     2.1) ก่อนด้าเนินโครงการฯ  พบว่ามีค่าอินทรีย์วัตถุอยู่ในระหว่าง 0.44-0.81
                       เปอร์เซ็น ซึ่งเป็นค่าที่ต่้ามากถึงมีค่าต่้า มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับที่ต่้าถึงมีค่าที่

                       ค่อนข้างสูง คือ 4.0-20  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  และมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีค่า 16-22
                       มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นระดับที่มีค่าต่้ามาก  และมีค่าความเป็นกรดด่าง 4.1-4.6 ซึ่งเป็นระดับที่
                       เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด
                                     2.2) หลังด้าเนินโครงการฯ พบว่ามีผลการวิเคราะห์ดิน ดังนี้คือ พบว่ามีค่า

                       อินทรีย์วัตถุ 0.51-0.75 เปอร์เซ็น ซึ่งเป็นระดับที่มีค่าที่ต่้า  มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ใน
                       ระดับค่อนข้างต่้า-ค่อนข้างสูง 10-18 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้
                       มีค่า 18-30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นระดับที่มีค่าต่้ามาก  และมีค่าความเป็นกรดด่าง 4.3-5.8 ซึ่ง
                       เป็นระดับที่เป็นกรดจัดมาก-กรดปานกลาง

                                     โดยพบว่าทั้งก่อนและหลังด้าเนินโครงการ การเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก ทุกค่ายกเว้น
                       ค่าควมเป็นกรดด่างในแปลงพริก อาจเนื่องจาก เกษตรกรมีการลดการใช้ปุ๋ยเคมีที่มากเกินความ
                       จ้าเป็น เพื่อลดต้นทุนการผลิต และมีการใช้ปุ๋ยเคมีที่ลดลงร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ คือ ปุ๋ยคอกปุ๋ยหมัก และ
                       ปุ๋ยพืชสด
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79