Page 78 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       60






                                                             บทที่ 5
                                                         สรุปผลการศึกษา

                       5.1 สรุปผลการศึกษา
                              5.1.1 การจัดท าแผนแม่บทโครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนา

                       อย่างยั่งยืนเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน อ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
                                   1) ทรัพยากรดิน โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน
                       เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าห้วยฝาย - ห้วยสะท้อน อ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ แบ่งตามลักษณะดังต่อไปนี้

                                        1.1) พื้นที่ดอน ดินที่พบในที่ดอนจะเป็นดินปนทรายหรือค่อนข้างเป็นทราย หรือ
                       ดินทรายจัด  มีปัญหาเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของดิน ซึ่งเป็นปัญหาหลักที่ส าคัญ  และบางส่วนมี
                       ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด
                                        1.2) พื้นที่ลุ่มต่ า เป็นดินน้ าท่วมขังซึ่งดินชนิดนี้บริเวณริมแม่น้ ามูล เป็นดินในที่ลุ่ม

                       ที่มีน้ าท่วมขัง 6-8 เดือนในฤดูฝน แต่ขาดแคลนน้ าในฤดูแล้ง
                                        1.3) พื้นที่ลุ่ม ดินค่อนข้างเป็นทราย มีปฏิกิริยาเป็นกรดจัดมาก มีการระบายน้ าดี
                       ซึ่งส่งผลให้ดินมีความชื้นน้อย ขาดแคลนน้ าในระยะฝนทิ้งช่วง การปลูกพืชในบริเวณนี้จึงควรมีแหล่ง
                       น้ าส ารอง และใส่วัสดุปูนเพื่อยกระดับค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ดินที่พบทั้งหมดในที่ลุ่มนี้ มัก

                       ขาดแคลนน้ าในระยะฝนทิ้งช่วง และเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของดิน ซึ่งเป็นปัญหาหลักที่ส าคัญ  ใน
                       ส่วนนี้เกษตรกรสามารถแก้ปัญหาเบื้องต้นได้โดยการใส่ปุ๋ยทดแทน  แต่ถ้าเป็นไปได้ควรน าดินมา
                       ตรวจหาธาตุอาหารและขอค าปรึกษากับหน่วยงานของราชการ เช่น หน่วยงานของกรมพัฒนาที่ดินจะ
                       ท าให้ทราบว่าสภาพพื้นที่ขาดธาตุอาหารชนิดใดซึ่งจะท าให้ใส่ปุ๋ยได้ตรงกับความต้องการของดิน

                                        1.4)  พื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง  พื้นที่ป่าไม้  และพื้นที่
                       แหล่งน้ า ซึ่งพื้นที่เหล่านี้ไม่มีการส ารวจและจ าแนกดินเนื่องจากเป็นสภาพพื้นที่ที่มีความเฉพาะเจาะจง
                       และในปัจจุบันไม่มีการท าการเกษตรในพื้นที่ดังกล่าว

                                  2) ปัญหาและความต้องการของเกษตรกร
                                     การวิเคราะห์ข้อมูลการส ารวจของส่วนเศรษฐกิจที่ดิน  ส านักส ารวจดินและวาง
                       แผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ปีการเพาะปลูก  2551/52  จากจ านวนเกษตรกรที่เป็นตัวอย่างใน
                       พื้นที่ 5  ต าบล ได้แก่ ต าบลหนองแก้ว ต าบลโพธิ์ ต าบลตะดอบ ต าบลโพนเขวา และต าบลโพนข่า
                       พบว่า ปัญหาและความต้องการของเกษตรกร เช่น ปัญหาด้านการประกอบอาชีพและปัญหาด้านการ

                       ครองชีพ และความต้องการของเกษตรกร ได้แก่ ความต้องการด้านการประกอบอาชีพและความ
                       ต้องการด้านการครองชีพ
                                3) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)

                                   การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) เพื่อศึกษาศักยภาพของพื้นที่ พบว่า
                       จากการศึกษาและวิเคราะห์สภาพในพื้นที่ที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน รวมทั้งปัจจัยภายนอกที่เป็นโอกาส
                       และข้อจ ากัดในการพัฒนาด้านต่างๆ ข้อมูลที่ศึกษาได้จาก ข้อมูลปฐมภูมิที่ส ารวจในพื้นที่ประกอบ
                       กับข้อมูลทุติยภูมิจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ นโยบายของรัฐระดับต่างๆ แผนพัฒนา
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83