Page 80 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 80

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       62






                       ในแต่ละแห่งจะอยู่ระหว่าง 3-5 ปี ตามขนาดของสภาพปัญหาในพื้นที่ (ส านักนิเทศและถ่ายทอด
                       เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน, 2551)
                              5.1.2 ศึกษาผลส าเร็จการใช้ที่ดินที่เหมาะสมในโครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60
                       เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน อ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
                                     1) การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน

                                              การวิเคราะห์ดินในพื้นที่แปลงปลูกพริกของเกษตรกร ก่อนด าเนินโครงการฯ                                            52
                       พบว่า ดินมีความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ในช่วง 4.4-6.8 ซึ่งเป็นมีค่ากรดจัดมากถึงเป็นกลาง มีปริมาณ
                       ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับปานกลางถึงมีค่าสูงมาก  คือมีค่าเป็น  12-256  มิลลิกรัมต่อ

                       กิโลกรัม โดยมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ซึ่งมีค่าอยู่ในช่วง 22-240 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่ง
                       อยู่ในระดับที่มีค่าต่ ามากถึงมีค่าสูงมาก และมีปริมาณอินทรีย์วัตถุมีค่าเป็น 0.4-1.84  เปอร์เซ็นต์ ซึ่ง
                       เป็นค่าที่ต่ ามากถึงมีค่าค่อนข้างต่ า และผลการวิเคราะห์ดินภายหลังการด าเนินโครงการแล้วพบว่ามี
                       ผลการวิเคราะห์ดินเป็นดังนี้ คือ มีความเป็นกรดเป็นด่างพบอยู่ในช่วง 4.6-7.4 ซึ่งเป็นกรดจัดถึงมีค่า

                       เป็นด่างอ่อน มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ อยู่ในระดับ 30-298 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็น
                       ค่าที่สูงถึงมีค่าสูงมาก และมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ในระดับต่ ามากถึงระดับที่สูงมาก
                       มีค่าเท่ากับ 18-250 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนปริมาณอินทรีย์วัตถุพบว่า 0.62-1.90 เปอร์เซ็นต์
                                            การวิเคราะห์ดินในพื้นที่แปลงปลูกข้าวของเกษตรกร ก่อนด าเนินโครงการฯ

                       พบว่ามีค่าอินทรีย์วัตถุอยู่ในระหว่าง 0.44-0.81  เปอร์เซ็น ซึ่งเป็นค่าที่ต่ ามากถึงมีค่าต่ า มีปริมาณ
                       ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับที่ต่ าถึงมีค่าที่ค่อนข้างสูง คือ 4.0-20 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และ
                       มีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีค่า 16-22  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ซึ่งเป็นระดับที่มีค่าต่ ามาก
                       และมีค่าความเป็นกรดด่าง 4.1-4.6 ซึ่งเป็นระดับที่เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ส่วนภายหลังด าเนิน

                       โครงการฯ พบว่า ค่าอินทรีย์วัตถุ 0.51-0.75 เปอร์เซ็น ซึ่งเป็นระดับที่มีค่าที่ต่ า  มีปริมาณฟอสฟอรัส
                       ที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับค่อนข้างต่ า-ค่อนข้างสูง  10-18  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  และมีปริมาณ
                       โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีค่า 18-30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นระดับที่มีค่าต่ ามาก  และมีค่า

                       ความเป็นกรดด่าง 4.3-5.8 ซึ่งเป็นระดับที่เป็นกรดจัดมาก-กรดปานกลาง
                                         2) การศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรที่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105
                       ในโครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืนเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าห้วย
                       ฝาย-ห้วยสะท้อน อ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
                                           การศึกษารายได้เกษตรกรในพื้นที่ต าบลโพธิ์ อ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ก่อน

                       ด าเนินโครงการในปี 2554 เปรียบเทียบกับปีที่หลังจากเข้าร่วมโครงการแล้วในปี 2556 ซึ่งกิจกรรมที่
                       มีความแตกต่างกันคือ ในปี 2555-2556  เกษตรกรมีการปลูกถั่วพร้าหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวนาปีใน
                       เดือนธันวาคม และเก็บเกี่ยวผลผลิตถั่วพร้าในช่วงเดือนพฤษภาคม และมีการใช้น้ าหมักชีวภาพ ในช่วง

                       เตรียมดิน และช่วงปลูกข้าว และมีการลดการใช้ปุ๋ยเคมี โดยมีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง โดยผลปรากฎ
                       ว่า รายรับก่อนเข้าโครงการ 4,760 บาท และหลังเข้าโครงการเป็น 9,130 บาท และมีรายได้สุทธิหลัง
                       หักค่าใช้จ่ายแล้วก่อนด าเนินการเป็น 1,860 บาทต่อไร่ และหลังเข้าโครงการ 4,290  บาท โดย
                       เกษตรกรสามารถขายผลผลิตได้ราคาที่สูงขึ้นจาก 14 บาทต่อกิโลกรัม เพื่มเป็น 21 บาทต่อกิโลกรัม
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85