Page 21 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         9






                                มม.                                                      ปริมาณน้้าฝน
                               300                                                       ศักยภาพการคายระเหยน้้า
                                                                                         0.5 ศักยภาพการคายระเหยน้้า
                               250

                               200
                               150
                               100

                                50
                                                                                                   เดือน
                                 0
                                     ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.

                                            ช่วงขาดน้้า           ช่วงน้้ามากเกินพอดี       ช่วงขาดน้้า

                                                                    ช่วงเพาะปลูกพืช


                         ภาพที่ 2.2 กราฟสมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2526-2556
                         ที่มา : สถานีตรวจวัดอากาศอ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ (2557)


                         2.4 ทรัพยากรน้้า
                            2.4.1 แหล่งน้ าธรรมชาติ

                                   ในเขตพัฒนาที่ดินห้วยฝาย-ห้วยสะท้อน อ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ มีล าน้ าตาม
                         ธรรมชาติที่ส าคัญ  คือ  แม่น้ ามูล  ที่อยู่เหนือสุดของเขต มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันตกลงสู่ทิศ
                         ตะวันออก โดยไหลลงสู่แม่น้ าโขงที่ต าบลโขงเจียม อ าเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้

                         ยังมีล าน้ าสายรองอื่นๆ ได้แก่ ห้วยฝาย ที่ไหลลงห้วยส าราญ และห้วยส าราญไหลลงแม่น้ ามูล ด้าน
                         ทิศตะวันตกของพื้นที่เขตฯ ห้วยสะท้อนที่อยู่ทิศตะวันออกของเขต ไหลจากทิศใต้ลงสู่แม่น้ ามูลทาง
                         ทิศเหนือ และยังมีแหล่งน้ าธรรมชาติอื่น ได้แก่ หนองบัว หนองบัวน้อย กุดฮี กุดโมง กุดแคน หนอง
                         แก้ว เป็นต้น แต่ยังไม่เพียงพอส าหรับท าการเกษตรในระยะฝนทิ้งช่วง

                             2.4.2 แหล่งน้ าที่สร้างขึ้น
                                   กรมพัฒนาที่ดินมีโครงการก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน เพื่อให้
                         เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ในระยะฝนทิ้งช่วง โดยในเขตนี้ ได้รับจ านวน 58 บ่อ
                                   นอกจากนี้ยังมีโครงการพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก ได้แก่ การขุดลอกหนองแหล่งน้ า

                         ขนาดเล็ก จ านวน 2 แห่ง คือ หนองสองห้อง และหนองบ้านโนนจาน ต าบลโพธิ์ อ าเภอเมือง
                         จังหวัดศรีสะเกษ เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการกักน้ าและให้เกษตรกรได้ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้
                         เพิ่มขึ้น
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26