Page 19 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         7







                         ด าเนินการตามวิธีของ Penman  Monteith   โดยน าค่าศักยภาพการคายระเหยน้ าของพืชราย

                         เดือนเฉลี่ย  (Evapotranspiration  :  ETo)  มาก าหนดจุดกราฟลงบนกระดาษ โดยพิจารณาจาก

                         ระยะเวลาช่วงที่เส้นน้ าฝนอยู่เหนือเส้น 0.5 ETo เป็นหลัก เพื่อหาช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการ
                         ปลูกพืช สามารถสรุปได้ ดังนี้

                                   1) ช่วงเวลาเพาะปลูกพืช จะอยู่ในช่วงตั้งแต่กลางเดือนเมษายนถึงต้นเดือนพฤศจิกายน

                         และมีความชื้นหลงเหลืออยู่ในดินพอเพียงส าหรับปลูกพืชไร่ พืชผักอายุสั้นหลังจากหมดฤดูฝน
                         ประมาณหนึ่งเดือน (เดือนตุลาคม) และอาจใช้แหล่งน้ าในไร่นาช่วยเสริมการเพาะปลูกได้บ้าง

                         แต่ทั้งนี้ควรวางแผนจัดระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ และจากการวิเคราะห์

                         สภาพภูมิอากาศและความต้องการน้ า อาจกล่าวได้ว่าพื้นที่มีศักยภาพสามารถปลูกข้าว พืชไร่ ไม้ผล

                         และไม้ยืนต้นได้ดี

                                   2) ช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก ซึ่งมีปริมาณน้ าฝนและการกระจายน้อย
                         หรือไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช จะอยู่ในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนเมษายน

                         ของทุกปี ในช่วงเวลาดังกล่าวถ้าได้รับน้ าชลประทานช่วยก็สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24