Page 55 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 55

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       36




                                 7.1.8 ทรัพยากรดิน

                                 จากการศึกษาข้อมูลดินจังหวัดระยองและจังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2533 และ 2534 (กองส ารวจ
                   และจ าแนกดิน) และข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน พ.ศ. 2544 (กองวางแผนการใช้ที่ดิน) มาตราส่วน 1:50,000
                   อันเป็นข้อมูลทุยภูมิ ซึ่งข้อมูลพื้นที่น้ าและสิ่งปลูกสร้างในข้อมูลดินและข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินดังกล่าวมี
                   พื้นที่แตกต่างกัน ในส่วนของผู้ศึกษาได้พิจารณาว่าการศึกษาดังกล่าวเป็นการวิเคราะห์ภาพรวมลุ่มน้ าสาขา

                   แม่น้ าประแสร์โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ จึงคงใช้ข้อมูลตามที่เผยแพร่ โดยท าการปรับแก้พื้นที่อ่างเก็บน้ าประแสร์
                   ให้เป็นปัจจุบันเนื่องจากมีผลกระทบต่อการแสดงถึงศักยภาพการพัฒนาการผลิตของพื้นที่ในลุ่มน้ าสาขา
                   แม่น้ าประแสร์
                                 จากการศึกษาข้อมูลดินของกองส ารวจและจ าแนกดิน พบว่า มี 57 หน่วยแผนที่ ประกอบด้วย

                   หน่วยเดี่ยว 30 หน่วยแผ่นที่ หน่วยสัมพัทธ์ 23 หน่วยแผนที่ และพื้นที่เบ็ดเตล็ด 4 หน่วยแผนที่ (ตารางที่ 4
                   และภาพที่ 6) รายละเอียดทรัพยากรดินในแต่ละหน่วยแผนที่ มีดังนี้
                                   1) กลุ่มชุดดินที่ 6
                                   กลุ่มชุดดินที่ 6 เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว เกิดจากวัตถุต้นก าเนิด

                   ดินพวกตะกอนน้ า เป็นดินลึกมาก สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีการระบายน้ าเลว ปฏิกิริยา
                   ดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่ าหรือค่อนข้างต่ า
                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า

                                   กลุ่มชุดดินที่ 6 ที่พบมีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 28,571 ไร่ หรือร้อยละ
                   2.14 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
                                   2) กลุ่มชุดดินที่ 7
                                   กลุ่มชุดดินที่ 7 เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดิน
                   พวกตะกอนล าน้ า เป็นดินลึกมาก สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีการระบายน้ า

                   ค่อนข้างเลว ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงด่างเล็กน้อย ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติปานกลาง
                   ส าหรับพื้นที่ท านาหากมีการชลประทานและการจัดการที่ดิน สามารถท านาได้ 2 ครั้ง ให้ผลผลิตค่อนข้างสูง
                                   กลุ่มชุดดินที่ 7 ที่พบมีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 3,830 ไร่ หรือร้อยละ 0.29

                   ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
                                   3) กลุ่มชุดดินที่ 11
                                   กลุ่มชุดดินที่ 11 เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว พบจาโรไซท์ในระดับความลึก
                   50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน พบบริเวณชายฝั่งทะเล เป็นดินลึกมาก สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง

                   ราบเรียบ มีการระบายน้ าเลว ปฏิกิริยาดินเป็นกรดรุนแรงมากถึงเป็นกรดจัดมาก ความอุดมสมบูรณ์ของ
                   ดินตามธรรมชาติต่ า
                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: เป็นดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดก ามะถัน อาจขาดธาตุ
                   ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส หรืออาจมีสารละลายพวกอะลูมินั่มและเหล็กมากเกินไปจนเป็นพิษต่อพืช

                                   กลุ่มชุดดินที่ 11 ที่พบมีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 10,738 ไร่ หรือร้อยละ
                   0.80 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60