Page 13 - รายงานการสำรวจดินและสภาพการใช้ที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                                                                   ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ  3



                            5.1.2  อุปกรณ์ตรวจสอบและเก็บข้อมูลดิน

                              1)  เครื่องรับสัญญาณระบบก�าหนดต�าแหน่งบนพื้นโลก (global positioning systems: GPS)
                                 2)   เข็มทิศ (compass)

                                 3)   เครื่องวัดระดับอย่างง่าย (abney hand level)
                                 4)   สว่านเจาะดิน (soil auger)

                                 5)   พลั่วตักดิน-ขุดดิน (spades)
                                 6)   เทปวัดระยะ (measuring tape)

                                 7)   สมุดเทียบสีดิน (munsell soil color chart)
                                 8)   น�้ายาวัดความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH test kit)

                                 9)   แว่นขยาย (hand lens)
                                 10) กล้องถ่ายรูป (camera)

                                 11) สมุดบันทึก (field book)



                            5.1.3  คอมพิวเตอร์

                                 1) คอมพิวเตอร์และโปรแกรมส�าหรับจัดท�าแผนที่ในรูปแบบดิจิตอล ได้แก่ Arc GIS 9.3



                        5.2   วิธีกำรด�ำเนินงำน

                            1)  กำรเตรียมงำนในส�ำนักงำน

                               (1.1)  เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการส�ารวจดิน ได้แก่ เข็มทิศ สมุดเทียบสีดิน สว่านเจาะดิน พลั่ว

                  ค้อนยาง มีดสนาม แว่นขยาย เทปวัดระยะ สมุดบันทึก และอื่นๆ ให้พร้อมส�าหรับการด�าเนินงาน

                               (1.2) ศึกษาลักษณะภูมิประเทศ ความลาดชัน ถนน เส้นทางน�้า ธรณีวิทยา การใช้ประโยชน์ที่ดิน
                  ทรัพยากรดิน ร่วมกับการแปลข้อมูลในภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000 เพื่อวิเคราะห์สภาพพื้นที่
                  และลักษณะของดินในพื้นที่ด�าเนินงาน

                               (1.3)  ก�าหนดจุดเจาะส�ารวจดินเบื้องต้นตามสภาพภูมิประเทศ ลงในแผนที่เชิงเลขร่วมกับ

                  ภาพถ่ายออร์โธสี มาตราส่วน 1:4,000
                               (1.4)  แปลสภาพการใช้ที่ดินในภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข เพื่อเขียนขอบเขตการใช้ที่ดินเบื้องต้น

                            2)  กำรปฏิบัติงำนในภำคสนำม

                               (2.1)  ส�ารวจดินและสภาพการใช้ที่ดินแบบละเอียด โดยใช้แผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข
                  มาตราส่วน 1:4,000 และแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 เป็นแผนที่พื้นฐานในการปฏิบัติงาน

                  แผนที่ดินที่ผลิตออกมามีมาตราส่วน 1:4,000
                               (2.2)  เจาะส�ารวจดินตามจุดที่ก�าหนดไว้ หรือบริเวณพื้นที่ที่มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน

                  โดยใช้สว่านเจาะดินลึก 2 เมตร ถึงชั้นหินพื้นหรือชั้นดานแข็ง วางเรียงกันตามความลึก เพื่อศึกษาสมบัติทางเคมี
                  และทางกายภาพของดิน ได้แก่ ความหนาของชั้นดิน เนื้อดิน สีดิน การยึดตัวของอนุภาคดิน ปริมาณการกระจาย
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18