Page 181 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 181

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           162






                  หมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 3-4 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า หรือขุดหลุมปลูกขนาด

                  75X75X75 ซม ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยหน้าดินที่ไม่มีเศษหินหรือลูกรังร่วมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก

                  อัตรา 25-50 กิโลกรัม/หลุม ในช่วงเจริญเติบโต ก่อนเก็บผลผลิตและภายหลังการเก็บผลผลิต ใช้ปุ๋ย
                  หมักหรือปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า ตามชนิดพืชที่ปลูก พัฒนาแหล่งน้้าละระบบการให้

                  น้้าในแปลงปลูก ในพื้นที่ดินตื้นมาก มีก้อนหิน หรือลูกรังมากที่ผิวดิน ไม่เหมาะสมส้าหรับท้า

                  การเกษตร ควรปล่อยไว้ให้เป็นป่าหรือใช้ปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว

                            แนวทางการจัดการหน่วยที่ดินที่ 25hi
                            ปลูกข้าว เลือกพื้นที่เพาะปลูกที่มีหน้าดินหนา ไถกลบตอซัง ไถกลบตอซัง ปล่อยทิ้งไว้

                  3-4 สัปดาห์ หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด ( หว่านโสนอัฟริกา หรือโสนอินเดีย 6-8 กิโลกรัม/ไร่ ไถกลบเมื่อ

                  อายุ 50-70 วัน ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์) ร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้้าหรือปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 หรือ 15-

                  15-15 ใส่ปุ๋ยแต่งหน้าหลังปักด้า 35-40 วัน พัฒนาแหล่งน้้าไว้ใช้ในช่วงที่ข้าวขาดน้้าหรือใช้ท้านาครั้ง
                  ที่ 2 หรือปลูกพืชไร่ พืชผักหรือพืชตระกูลถั่ว หลังเก็บเกี่ยวข้าว โดยท้าร่องแบบเตี้ย ปรับปรุงดินด้วย

                  ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 3-4 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า

                            ปลูกพืชไร่ พืชผักหรือผลไม้ เลือกพื้นที่มีหน้าดินหนา ยกร่องกว้าง 6-8 เมตร คูน้้า 1.0-
                  1.5 เมตร ลึก 0.5-1.0 เมตร และคันดินอัดแน่นล้อมรอบเพื่อป้องกันน้้าท่วมขัง ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ย

                  หมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 3-4 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า หรือขุดหลุมปลูกขนาด

                  75X75X75 ซม ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยหน้าดินที่ไม่มีเศษหินหรือลูกรังร่วมกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก
                  อัตรา 25-50 กิโลกรัม/หลุม ในช่วงเจริญเติบโต ก่อนเก็บผลผลิตและภายหลังการเก็บผลผลิต ใช้ปุ๋ย

                  หมักหรือปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า ตามชนิดพืชที่ปลูก พัฒนาแหล่งน้้าละระบบการให้

                  น้้าในแปลงปลูก ในพื้นที่ดินตื้นมาก มีก้อนหิน หรือลูกรังมากที่ผิวดิน ไม่เหมาะสมส้าหรับท้า
                  การเกษตร ควรปล่อยไว้ให้เป็นป่าหรือใช้ปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว

                            แนวทางการจัดการหน่วยที่ดินที่ 28

                            ปลูกพืชไร่ หรือพืชผัก ปรับปรุงดินด้วยอินทรียวัตถุปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 2-3 ตัน/ไร่ หรือ

                  ไถกลบพืชปุ๋ยสด (หว่านพืชปุ๋ยสด ถั่วพร้า 8-10 กิโลกรัม/ไร่ ถั่วพุ่ม 6-8 กิโลกรัม/ไร่ หรือปอเทือง 4-6
                  กิโลกรัม/ไร่ ไถกลบก่อนออกดอกร่วมกับการใช้ปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้าตามชนิดพืชที่ปลูก พัฒนา

                  แหล่งน้้าและจัดระบบการให้น้้าในแปลงปลูก

                            ปลูกไม้ผล ขุดหลุมปลูกขนาด 50X50X50 ซม. ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ย

                  คอก 20-35 กิโลกรัม/หลุม ร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า ในช่วงเจริญเติบโต ก่อนเก็บผลผลิตและ
                  ภายหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรียืน้้าตามชนิดพืชที่ปลูก

                  พัฒนาแหล่งน้้าและจัดระบบการให้น้้าในแปลงปลูก
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186