Page 179 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 179

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           160






                            แนวทางการจัดการหน่วยที่ดินที่ 17hi

                            ปลูกข้าว ในพื้นที่ที่เป็นกรดจัดมาก หว่านวัสดุปูน 200-300 กิโลกรัม/ไร่ เพื่อเพิ่มความ

                  เป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน ไถกลบตอซัง ปล่อยทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์ หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด

                  (โสนอัฟริกา หรือโสนอินเดีย 4-6 กิโลกรัม/ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์ )
                  ร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้้าหรือปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 ใส่ปุ๋ยแต่งหน้าหลังปักด้า 35-45 วัน พัฒนาแหล่ง

                  น้้าไว้ใช้ในช่วงที่ข้าวขาดน้้าหรือใช้ท้านาครั้งที่ 2 หรือปลูกพืชไร่ พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเก็บ

                  เกี่ยวข้าว โดยท้าร่องแบบเตี้ย ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 2-3 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ย
                  อินทรีย์น้้า

                            ปลูกพืชไร่ พืชผักหรอไม้ผล ยกร่องกว้าง 6-8 เมตร คูน้้ากว้าง 1.0-1.5 เมตร ลึก 0.5-

                  1.0 เมตร และมีคันดินอัดแน่นล้อมรอบ ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 2-3 ตัน/ไร่ ร่วมกับ

                  ปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า หรือขุดหลุมปลูกขนาด 50X50X50 ซม. ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือ
                  ปุ๋ยคอก 20-35 กิโลกรัม/หลุม ในช่วงเจริญเติบโต ก่อนเก็บผลผลิตและภายหลังเก็บผลผลิต มีการใช้

                  ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร

                  อาหารในดิน ควรมีการใช้วัสดุปูน 200-300 กิโลกรัม/ไร่ พัฒนาแหล่งน้้าและจัดระบบการให้น้้าใน
                  แปลงปลูก

                            แนวทางการจัดการหน่วยที่ดินที่ 18

                            ปลูกข้าว ไถกลบตอซัง ปล่อยทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์ หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด (หว่านโสนอัฟ
                  ริกา หรือโสนอินเดีย 4-6 กิโลกรัม/ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์) ร่วมกับการใช้

                  ปุ๋ยอินทรีย์น้้าหรือปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 ใส่ปุ๋ยแต่งหน้าหลังปักด้า 35-45 วัน พัฒนาแหล่งน้้าไว้ใช้

                  ในช่วงที่ข้าวขาดน้้าหรือใช้ท้านาครั้งที่ 2 หรือปลูกพืชไร่ พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเก็บเกี่ยวข้าว

                  โดยท้าร่องแบบเตี้ย ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 2-3 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า
                            ปลูกพืชไร่ พืชผักหรือไม้ผล ยกร่องกว้าง 6-8 เมตร คูน้้ากว้าง 1.0-1.5 เมตร ลึก 0.5-

                  1.0 เมตร และมีคันดินอัดแน่นล้อมรอบ เพื่อป้องกันน้้าท่วมขังปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 2-

                  3 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า หรือขุดหลุมปลูกขนาด 50X50X50 ซม. ปรับปรุงหลุมปลูก
                  ด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 20-35 กิโลกรัม/หลุม ในช่วงเจริญเติบโต ก่อนเก็บผลผลิตและภายหลังเก็บ

                  เกี่ยวผลผลิต มีการใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้าพัฒนาแหล่งน้้าและ

                  จัดระบบการให้น้้าในแปลงปลูก

                            แนวทางการจัดการหน่วยที่ดินที่ 22hi
                            ปลูกข้าว ไถกลบตอซัง ปล่อยทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์ หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด (โสนอัฟริกา

                  หรือโสนอินเดีย 4-6 กิโลกรัม/ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์ ) ร่วมกับการใช้ปุ๋ย
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184