Page 178 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 178

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           159






                            แนวทางการจัดการหน่วยที่ดินที่ 7hi

                            ปลูกข้าว ไถพรวนขณะที่ดินมีความชื้นที่เหมาะสม ไถกลบตอซัง ปล่อยไว้ 3-4 สัปดาห์

                  หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด (หว่านโสนอัฟริกา หรือโสนอินเดีย 4-6 กิโลกรัม/ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน

                  ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์) ร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้้าหรือปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 ใส่ปุ๋ยแต่งหน้าหลังปัก
                  ด้า 35-40 วันพัฒนาแหล่งน้้าไว้ใช้ในช่วงที่ข้าวขาดน้้าหรือท้านาครั้งที่ 2 หรือใช้ปลูกพืชไร่หรือพืชผัก

                  หลังเก็บเกี่ยวข้าว โดยท้าร่องแบบเตี้ย ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 1-2 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี

                  หรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า
                            ปลูกพืชผักหรือไม้ผล ยกร่องกว้าง 6-8 เมตร คูน้้ากว้าง 1.0-1.5 เมตร ลึก 0.5-1.0 เมตร

                  ร่องแปลงปลูกอยู่สูงจากระดับน้้าที่เคยท่วม ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 1-2 ตัน/ไร่ ร่วมกับ

                  ปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า หรือขุดหลุมปลูกขนาด 50X50X50 ซม. ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือ

                  ปุ๋ยคอก 15-25 กิโลกรัม/หลุม ในช่วงเจริญเติบโต ก่อนเก็บผลผลิตและภายหลังเก็บผลผลิต ใช้ปุ๋ยหมัก
                  หรือปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้าตามชนิดพืชที่ปลูก พัฒนาแหล่งน้้าและจัดระบบการให้

                  น้้าในแปลงปลูก

                            แนวทางการจัดการหน่วยที่ดินที่ 10
                            ปลูกข้าว ไถพรวนดินในขณะที่ดินมีความชื้นที่เหมาะสม ลดและควบคุมความเป็นกรด

                  รุนแรงมากของดินด้วยวัสดุปูน 1,000-2,000 กิโลกรัม/ไร่ โดยหว่านให้ทั่วแปลงปลูก ไถกลบตอ

                  ซัง ปล่อยไว้ 3-4 สัปดาห์ หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด(หว่านเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด โสนอัฟริกา หรือโสน
                  อินเดีย 4-6 กิโลกรัม/ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์) ร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้้า

                  หรือปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 ใส่ปุ๋ยแต่งหน้าหลังปักด้า 35-45 วัน พัฒนาแหล่งน้้าและจัดระบบการให้น้้า

                  ในช่วงที่ข้าวขาดน้้าหรือท้านาครั้งที่ 2

                            ปลูกพืชไร่ พืชผักหรือไม้ผล ยกร่องกว้าง 6-8 เมตร คูน้้ากว้าง 1.0-1.5 เมตร ลึก 0.5-
                  1.0 เมตร หรือถึงชั้นดินเลนของตะกอนน้้าทะเล มีคันดินอัดแน่นล้อมรอบก่อนยกร่อง ควรแยกหน้า

                  ดินมาทับบนดินที่ขุดมาจากร่องคูน้้า หว่านวัสดุปูนบนสันร่องและร่องคูน้้า 1,000-2,000 กิโลกรัม/ไร่

                  ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 2-3 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้า หรือขุดหลุมปลูก
                  ขนาด 50X50X50 ซม. ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 20-35 กิโลกรัม/หลุม ร่วมกับวัสดุ

                  ปูน 7 กิโลกรัม/หลุม ในช่วงเจริญเติบโต ก่อนเก็บผลผลิตปละภายหลังเก็บผลผลิต ใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ย

                  คอกร่วมกับปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์น้้าตามชนิดพืชที่ปลูก เมื่อดินเกิดกรดเพิ่มขึ้น หว่านด้วยวัสดุปูน

                  1,000-2,000 กิโลกรัม/ไร่ พัฒนาแหล่งน้้าและระบบการให้น้้าในแปลงปลูก เพื่อใช้ล้างความเป็นกรด
                  ของดิน และควบคุมไม่ให้ดินกรดเพิ่มขึ้น
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183