Page 32 - ผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ตอบสนองต่อการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินที่ปลูกในชุดดินนครพนม จังหวัดบึงกาฬ
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       24








                       ดิน 0.06 บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็น 2.05 เปอร์เซ็นต์ และมีผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรเพิ่มขึ้นกว่า
                       การใส่ปุ๋ยครึ่งค่าวิเคราะห์ดิน 981.55 บาทต่อไร่ คิดเป็น 20.26 เปอร์เซ็นต์
                              เปรียบเทียบการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินของค าแนะน ากรมพัฒนาที่ดินกับการใส่ปุ๋ยตาม
                       เกษตรกร พบว่า การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินมีต้นทุนผลผลิตลดลงกว่าการใส่ปุ๋ยตามเกษตรกร 0.13

                       บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็น 4.34 เปอร์เซ็นต์ และมีผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรเพิ่มขึ้นกว่าการใส่ปุ๋ย
                       ตามเกษตรกร 853.42 บาทต่อไร่ คิดเป็น 17.16 เปอร์เซ็นต์
                              จากผลการทดลองสอดคล้องกับการศึกษาของ พรทิวา และคณะ,  มปป. ได้ท าการศึกษา
                       เปรียบเทียบผลของการใช้ปุ๋ยสูตรต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พบว่าต ารับการทดลองที่ใช้

                       ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (เต็มอัตรา) มีต้นทุนและผลตอบแทนดีที่สุด เช่นเดียวกันกับการทดลอง
                       ของ นาตยา และอรรถสิทธิ์ (2555) ได้ท าการศึกษาการเพิ่มผลผลิตอ้อยโดยการใช้ปุ๋ยเคมีอัตราที่
                       เหมาะสมร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ พบว่า การใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับการใส่ปุ๋ยอินทรีย์
                       โรงงาน และการปลูกถั่วพุ่มระหว่างแถวอ้อย ให้ผลผลิตอ้อยสูงที่สุดคือ 18.84 ตันต่อไร่ และให้

                       ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์สูงสุด คือ 8,985 บาทต่อไร่
                              ซึ่งข้อมูลดังกล่าว วีรวัฒน์  (2558) ได้กล่าวถึงการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เป็นวิธีการที่มี
                       ประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากการวิเคราะห์ดินช่วยให้ทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ของดิน และ

                       ปริมาณปุ๋ยที่จะต้องใส่ ท าให้ปริมาณปุ๋ยที่ใส่เพียงพอกับความต้องการ ท าให้ผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยง
                       สัตว์เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัมผลผลิตลดลง เกษตรกรมีรายได้สุทธิมากขึ้น ถึงแม้
                       ค่าปุ๋ยเคมีจะมีราคาสูงก็ตาม
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37