Page 52 - การประเมินความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจในการผลิตพืชเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาของลุ่มน้ำหลัก : โตนเลสาป ปีการผลิต 2555/56
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           2-34





                  2554 มีการเลี้ยงโคเนื้อ จํานวน 30,528 ตัว ซึ่งปริมาณการเลี้ยงลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 2.75 อําเภอที่มี

                  การเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอตาพระยา จํานวน 15,036 ตัว หรือร้อยละ 49.25 ของจํานวนโคเนื้อที่

                  ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนบน (1701) ในปี 2555 มีการเลี้ยงโคเนื้อ จํานวน 25,229 ตัว ซึ่งมี
                  ปริมาณการเลี้ยงลดลงจากปี 2554 ร้อยละ 17.36 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอตาพระยา จังหวัด

                  สระแก้ว จํานวน 15,203 ตัว หรือร้อยละ 60.26 ของจํานวนโคเนื้อที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาป

                  ตอนบน (1701)

                                         โคนม เกษตรกรยังไม่ค่อยนิยมเลี้ยงกันมากนัก ในปี 2553 มีการเลี้ยงโคนม
                  จํานวน 39 ตัว อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว จํานวน 34 ตัว

                  หรือร้อยละ 87.18 ของจํานวนโคนมที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนบน (1701) ในปี 2554 มีการ

                  เลี้ยงโคนม จํานวน 39 ตัว ซึ่งมีปริมาณการเลี้ยงเท่ากับ ปี 2553 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอ

                  วัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว จํานวน 34 ตัว หรือร้อยละ 87.18 ของจํานวนโคนมที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขา
                  โตนเลสาปตอนบน (1701) ในปี 2555 มีการเลี้ยงโคนม จํานวน 7 ตัว ซึ่งมีปริมาณการเลี้ยงลดลงจากปี 2554

                  ร้อยละ 82.05 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว จํานวน 6 ตัว หรือร้อยละ

                  85.71 ของจํานวนโคนมที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนบน (1701)
                                         กระบือ ในปี 2553 มีการเลี้ยงกระบือ จํานวน 7,398 ตัว โดยอําเภอตาพระยา

                  จังหวัดสระแก้ว มีการเลี้ยงมากที่สุด จํานวน 3,275 ตัว หรือร้อยละ 44.27 ของจํานวนกระบือที่ถูกเลี้ยง

                  ในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนบน (1701) ในปี 2554 มีการเลี้ยงกระบือจํานวน 7,729 ตัว ซึ่งปริมาณ
                  การเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ร้อยละ 4.47 อําเภอที่เลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว

                  จํานวน 2,906 ตัว หรือร้อยละ 37.60 ของจํานวนกระบือที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนบน

                  (1701) ในปี 2555 มีการเลี้ยงกระบือ จํานวน 6,802 ตัว ซึ่งมีปริมาณการเลี้ยงลดลงจากปี 2554 ร้อยละ

                  11.99 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จํานวน 2,915 ตัว หรือร้อยละ
                  42.86 ของจํานวนกระบือที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนบน (1701)

                                         สุกรพื้นเมือง ในปี 2553 มีการเลี้ยงสุกรพื้นเมือง จํานวน 3,419 ตัว โดยอําเภอ

                  ที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จํานวน 2,169 ตัว หรือร้อยละ 63.44

                  ของจํานวนสุกรพื้นเมืองที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนบน (1701) ในปี 2554 มีการเลี้ยงสุกรพื้นเมือง
                  จํานวน 4,058 ตัว ซึ่งปริมาณการเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ร้อยละ 18.69 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่

                  อําเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จํานวน 1,774 ตัว หรือร้อยละ 43.72 ของจํานวนสุกรพื้นเมืองที่ถูกเลี้ยง

                  ในเขตลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนบน (1701) ในปี 2555 มีการเลี้ยงสุกรพื้นเมือง จํานวน 6,784 ตัว มีปริมาณ
                  การเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากปี 2554 ร้อยละ 67.18 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57