Page 26 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงปรับปรุงบำรุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวนาปีของศูนย์เรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       15







                       14,253 ไร่ พันธุ์ไม้ที่ปลูก เช่น ยูคาลิปตัส นนทรี สัก และมะยมป่า ฯลฯ และยังมีของภาคเอกชนอีก
                       8 แห่ง เนื้อที่ 8,818 ไร่ พันธุ์ไม้ที่ปลูก คือ ยูคาลิปตัส เป็นต้น
                                     2)  แหล่งน้ า พื้นที่ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของจังหวัด มีลักษณะภูมิประเทศเป็น
                       ลูกคลื่นและภูเขาสูงเฉลี่ย 100-400 เมตร กระจายทั่วไป และมีป่าไม้คลุมอันเป็นต้นก าเนิดของแหล่ง

                       น้ าธรรมชาติ ซึ่งแบ่งได้ 3 ประเภท คือ
                                            2.1)  แหล่งน้ าจากฝน เป็นแหล่งน้ าที่ส าคัญอันเป็นต้นก าเนิดแหล่งน้ าอื่นๆ
                       ลักษณะการกระจายของฝนจะต่างกันออกไปส่วนใหญ่ตกชุกในเขตภูเขาและที่ราบสูงทางตะวันออก
                       เฉียงใต้ของจังหวัดในเขตอ าเภอสนามชัยเขต และอ าเภอท่าตะเกียบ ส่วนที่ติดต่อกับจังหวัดชลบุรีและ

                       จันทบุรี ถัดมาด้านตะวันตก ปริมาณน้ าฝนจะลดลงตามล าดับ ส าหรับพื้นที่ด้านเหนือส่วนที่ติดกับ
                       จังหวัดปราจีนบุรี บริเวณบางส่วนของอ าเภอพนมสารคาม และอ าเภอสนามชัยเขต ปริมาณน้ าฝน
                       ค่อนข้างน้อย
                                            2.2)  แหล่งน้ าจากผิวดินหรือแม่น้ าที่ส าคัญคือแม่น้ าบางปะกง ซึ่งไหลผ่าน

                       อ าเภอต่างๆ ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีคลองธรรมชาติ อันเป็นสาขาของแม่น้ าบางปะกง ได้แก่ คลอง
                       ท่าลาดในเขตอ าเภอพนมสารคาม ซึ่งเกิดจากคลองสาขา คือ คลองระบม และคลองสียัด อันมีต้นน้ า
                       อยู่ทางตะวันออกของจังหวัดในเขตอ าเภอสนามชัยเขต และยังมีคลองซึ่งเชื่อมโยงติดต่อกับกรุงเทพฯ

                       และจังหวัดสมุทรปราการ หลายแห่ง เช่น คลองส าโรง คลองแสนแสบ คลองท่าไข่ คลองบางขนาก
                       และคลองประเวศบุรีรัมย์ ซึ่งเป็นคลองที่ใช้เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งที่ส าคัญรองจากแม่น้ าบางปะกง
                                            2.3) แหล่งน้ าจากใต้ดินหรือน้ าบาดาล มีอยู่ทั่วไปในจังหวัด โดยเฉพาะด้าน
                       ตะวันตกของจังหวัดในเขตลุ่มน้ าบางปะกง ส่วนทางด้านตะวันออกมีปริมาณน้ าใต้ดินน้อย อย่างไรก็
                       ตามน้ าใต้ดินส่วนใหญ่มีคุณภาพไม่เหมาะสม ที่จะน ามาใช้ประโยชน์ในการอุปโภคบริโภคหรือการ

                       เกษตรกรรม เนื่องจากน้ ามีความเค็มหรือไม่ก็เป็นน้ ากร่อย พื้นที่ที่พอจะน าน้ าใต้ดินมาใช้ประโยชน์
                       บางอย่างก็คือ บางส่วนของอ าเภอบางคล้า อ าเภอสนามชัยเขต อ าเภอพนมสารคาม และอ าเภอ
                       ท่าตะเกียบ แต่ปริมาณน้ ามีน้อย

                              2.5.3 การเกษตรกรรม (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2555)
                                     การประกอบอาชีพในสาขาเกษตรกรรมของประชากรในจังหวัดนับเป็นอาชีพที่มี
                       ความส าคัญและบทบาทต่อฐานะความเป็นอยู่ของประชากรมาก เพราะมีประชากรผู้ประกอบอาชีพ
                       เกษตรถึงประมาณร้อยละ 70 ของประชากรทั้งจังหวัด ในแต่ละปีมูลค่าผลผลิตในภาคเกษตรกรรมสูง

                       กว่า 14,000 ล้านบาท และเป็นสาขาอาชีพพื้นฐานที่น าไปสู่การพัฒนาด้านต่างๆ เช่น อุตสาหกรรม
                       การเกษตร โดยใช้ผลผลิตที่ได้เป็นวัตถุดิบซึ่งสามารถที่จะแยกออกได้เป็นหลายประเภทส าหรับพื้นที่
                       ประกอบการเกษตรของจังหวัด รวมทั้งสิ้นประมาณ 2,090,636 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 60 ของพื้นที่ทั้ง
                       จังหวัด จ าแนกรายอ าเภอ ดังนี้

                                          อ าเภอเมือง มีพื้นที่ทางการเกษตร 187,804 ไร่
                                          อ าเภอบางน้าเปรี้ยว มีพื้นที่ทางการเกษตร 294,030 ไร่
                                          อ าเภอบ้านโพธิ์ มีพื้นที่ทางการเกษตร 116,506 ไร่
                                          อ าเภอบางปะกง มีพื้นที่ทางการเกษตร 118,833 ไร่

                                          อ าเภอบางคล้า และอ าเภอคลองเขื่อนมีพื้นที่ทางการเกษตร 188,125 ไร่
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31