Page 15 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 15
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
3.3) พื้นที่ตอนล่างของโครงการ (ปลายน้ า) เช่น ไถท าลายชั้นดินดานให้น้ า
ไหลซึมลงสู่ดินชั้นล่าง เพิ่มอินทรียวัตถุให้ดินดูดซับน้ าได้มากขึ้น ก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นา พัฒนาพื้นที่
ทิ้งร้างให้มาปลูกไม้ยืนต้น และการแก้ไขปัญหาน้ าเสียและของเสียเป็นต้น
4) กิจกรรมทั่วไป ที่สามารถด าเนินการได้เต็มในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ได้แก่
4.1) การปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า
4.2) การปรับปรุงดินกรด
4.3) การปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ ารุงดิน
4.4) กิจกรรมการท าเกษตรอินทรีย์ เช่น การจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรผลิตและ
ใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร/เกษตรอินทรีย์ การสนับสนุนส่งเสริมการใช้เมล็ดพันธุ์
พืชปุ๋ยสด สารปรับปรุงบ ารุงดิน และสารเร่งจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ เป็นต้น
4.5) การรณรงค์งดเผาฟางและตอซังพืช
4.6) การอบรมให้ความรู้ด้านการพัฒนาที่ดินส าหรับปลูกพืชเศรษฐกิจชนิด
ต่างๆ
4.7) การจัดท าจุด/ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
4.8) การให้บริการวิเคราะห์ดินและค าแนะน าการปรับปรุงบ ารุงดินจากผล
การวิเคราะห์ดิน
4.9) การอบรมพัฒนาศักยภาพหมอดินอาสา และถ่ายทอดความรู้สู่
เกษตรกรทั่วไป
5) กิจกรรมเฉพาะจุด ที่จะท าเป็นการสาธิตเพื่อขยายผล ได้แก่การจัดท าระบบ
อนุรักษ์ดินและน้ า การจัดท าแปลงสาธิต งานพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า เป็นต้น ทั้งนี้
เพื่อเป็นต้นแบบขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ
6) กิจกรรมการประเมินผลโครงการด้านผลสัมฤทธิ์การด าเนินงานโครงการพัฒนา
ที่ดินบริเวณลุ่มน้ าเข็ก เพื่อประเมินกิจกรรมการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า การจัดท าแปลงสาธิต
งานพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า ให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่จะด าเนินการในพื้นที่อื่นต่อไป
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.5.1 ทรัพยากรดินในพื้นที่ได้รับการปรับปรุงให้มีความอุดมสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น มีการพัฒนา
แหล่งน้ าและระบบน้ าดีที่สามารถน ามาท าการเกษตรได้ตลอดปี ท าให้เกษตรกรมีผลผลิตเพิ่มขึ้น ลด
การบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อท าการเกษตร
1.5.2 พื้นที่เกษตรบนพื้นที่ลาดชันได้รับการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า โดยการปลูกหญ้า
แฝกท าให้ลดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และสามารถเป็นแปลงตัวอย่างในการอนุรักษ์ดินและน้ า
ในพื้นที่ได้
1.5.3 เกษตรกรในพื้นที่เป้าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สมารถใช้ชีวิตอยู่กับป่าได้โดยไม่
ท าลายป่า หรือบุกรุกป่าเพิ่ม มีป่าเป็นแหล่งอาหารของชุมชน ท าให้มีอาชีพเสริมเกิดขึ้นในพื้นที่มี
สุขภาพจิตที่ดีขึ้นเพราะได้รับการดูแลเอาใจใส่จากภาครัฐ