Page 14 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 14
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
3
วิเคราะห์ปริมาณน้ าท่า โครงข่ายล าน้ า และประเมินศักยภาพของแหล่งน้ าผิวดิน การวิเคราะห์ระบบ
น้ า จากความต้องการใช้น้ าเพื่อการชลประทาน ขีดความสามารถของลุ่มน้ า และผลิตผลของลุ่มน้ าน้ า
ใต้ดินการวิเคราะห์ปริมาณตะกอนในล าน้ าทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ลุ่มน้ าการจ าแนกเขตการใช้
ประโยชน์ทรัพยากรที่ดินป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ป่าไม้ ในด้านการ
จัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ และด้านการป้องกันพื้นที่ป่าไม้อื่นๆ และการก าหนดชั้นคุณภาพลุ่ม
น้ า
2) ทรัพยากรดินและที่ดิน ประกอบด้วยลักษณะทั่วไปของกลุ่มชุดดินและ/หรือชุด
ดินสภาพการใช้ที่ดินและพืชพรรณธรรมชาติการประเมินชั้นความเหมาะสมของที่ดินตามศักยภาพ
ของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจทั่วๆ ไป เช่น การแบ่งชั้นความเหมาะสมของดิน ข้อจ ากัดหรือชนิดของ
ความเสียหายที่เป็นตัวก าหนดชั้นความเหมาะสมของที่ดินย่อย การประเมินชั้นความเหมาะสมของ
ที่ดินตามศักยภาพและความเหมาะสมของดินต่อพืชเศรษฐกิจ เป็นต้น ปัญหาทรัพยากรดินและแนว
ทางแก้ไข ซึ่งมีปัญหาหลักคือการชะล้างพังทลายของดิน การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินการ
ถือครองที่ดิน และการปฏิรูปที่ดิน
3) เศรษฐกิจ สังคม และการเกษตร ประกอบด้วยลักษณะทั่วไป เช่น ลักษณะ
ทางการปกครอง ลักษณะทั่วไปของประชากร การประกอบอาชีพ การเพาะปลูกพืชในรอบปีของ
เกษตรกรในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน รายได้ต่อครัวเรือนและสภาพชีวิตความเป็นอยู่การเกษตร ข้อมูล
การเกษตรในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน การผลิตทางการเกษตร แนวทางการพัฒนาการเกษตรในพื้นที่เขต
พัฒนาที่ดิน การจัดระบบการปลูกพืช และการท าไร่นาสวนผสมตามแนวทฤษฎีใหม่
4) การพัฒนาแหล่งน้ าและการชลประทาน แบ่งเป็นโครงการพัฒนาแหล่งน้ าใน
ปัจจุบัน และที่เสนอขอก่อสร้างใหม่
1.4.3 การวางแผนพัฒนาที่ดินพื้นที่โครงการ ประกออบด้วย
1) วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ข้อมูลดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน การปลูกพืช
พืชพรรณ ปริมาณน้ าฝน แหล่งน้ า เศรษฐกิจสังคม นโยบายและความต้องการของชุมชน/ท้องถิ่น
ฯลฯ เพื่อวางแผนการใช้ที่ดินและก าหนดกิจกรรมการพัฒนาที่ดินเบื้องต้น
2) ส ารวจพื้นที่เพื่อวางแผนการพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า และ
ระบบส่งน้ าเพื่อการเกษตรกรรมในพื้นที่ลุ่มน้ า พร้อมทั้งประสานองค์กรปกครองท้องถิ่นให้จัดท าค า
ขอก่อสร้างแหล่งน้ าและหนังสือยินยอมให้ก่อสร้าง
3) การบริหารจัดการพื้นที่โครงการ โดยก าหนดกิจกรรมที่น่าจะเหมาะสมในแต่ละ
บริเวณของพื้นที่ลุ่มน้ าดังนี้
3.1) พื้นที่ตอนบนของโครงการ (ต้นน้ า) เช่น ยุติการเผาท าลายป่า การ
ปลูกป่าเพิ่มเติม การสร้างฝายหรืออาคารชะลอความเร็วของน้ า (Check Dam) การปลูกหญ้าแฝก
เป็นต้น
3.2) พื้นที่ตอนกลางของโครงการ (กลางน้ า) เช่น การก่อสร้างระบบ
อนุรักษ์ดินและน้ า ปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดิน การก่อสร้าง
และปรับปรุงแหล่งน้ า เป็นต้น