Page 83 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 83

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              66





                                              คะแนนถ่วงน้ าหนักรวมของปัจจัยภายใน
                                                 ( IFE Total Weighted Score )
                            Grow and Build
                                                                          อ่อนแอ

                                            เข้มแข็ง
                                                          ปานกลาง

                                              ๓.๐
                                                            ๒.๐
                                  ๔.๐
                                                                            ๑.๐

                                  สูง
                                  ๓.๐

                         คะแนนถ่วงน้ าหนักรวมของปัจจัยภายนอก   (EFE Total Weighted Score)   ปานกลาง   (๓.๕๕, ๓.๑๙)                        Hold and Maintain



                                                                                             Harvest or Divest
                                  ๒.๐
                                  ต่ า
                                  ๑.๐


                                             เข้มแข็ง     ปานกลาง         อ่อนแอ

                      แผนภาพ ๕ - ๔ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน - ภายนอกองค์กร (Interna l- External Matrix)

                                   จากแผนภาพ IE Matrix ข้างต้นพบว่าคะแนนถ่วงน้ าหนักรวมของ IFE เท่ากับ ๓.๕๕ และ
                  คะแนนถ่วงน้ าหนักรวมของ EFE  เท่ากับ ๓.๑๙ เมื่อได้ค่าถ่วงน้ าหนักของแผนภาพทั้งสอง จะเป็นการก าหนด
                  ต าแหน่งของเมทริกซ์ภายใน - ภายนอก (IE Matrix) โดย แกน Y จะเป็นค่าคะแนนตาราง IFE และแกน X จะ

                  เป็นค่าของคะแนนตาราง EFE เมื่อน าคะแนนทั้งสองแกนลากเส้นมาตัดกัน จะเห็นได้ว่าบริเวณจุดตัด ตกอยู่ใน
                  ช่องที่ ๑ (๓.๕๕,  ๓.๑๙)  คือ มีคะแนนถ่วงน้ าหนักรวมของปัจจัยภายใน  (IFE) เข้มแข็งสูงและมีคะแนนถ่วง
                  น้ าหนักรวมของปัจจัยภายนอก ( EFE ) ในระดับที่สูงเช่นกันท าให้ผู้วิจัยก าหนดกลยุทธ์การพัฒนาพื้นที่เกษตร
                  จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้กลยุทธ์การเจริญเติบโต (Growth and Build)


                                   ๕.๒.๒  ผลการวิเคราะห์ TOWs Matrix ส าหรับการก าหนดกลยุทธ์ (The TOWs Matrix
                  for Strategy Formulation)

                                          เมื่อสามารถก าหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่เกษตรจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แล้ว
                  จึงน ามาสร้างเป็นกลยุทธ์ทางเลือกโดยใช้ TOWs Matrix ด้วยการจับคู่ อุปสรรค โอกาส จุดอ่อน จุดแข็ง ทั้งนี้
                  ในขั้นตอนนี้จะด าเนินการโดยการประชุมร่วมกันของผู้วิจัยและคณะท างานแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ เพื่อหารือ
                  และแสดงความคิดเห็นซึ่งกันและกันจนได้เป็นกลยุทธ์ทางเลือกทั้ง ๑๒ ทางเลือก ดังต่อไปนี้


                                          (1)  The SO Strategy เป็นการเอาจุดแข็งมาท าให้มีโอกาสที่มากขึ้น มีกลยุทธ์
                  ทางเลือกดังนี้
                                              SO๑ :  บริหารจัดการพื้นที่นาร้างเพื่อพัฒนาพื้นที่ท ากินทางการเกษตร
                                                     อย่างยั่งยืน ( S๑ + S๓ + O๑ + O๕ + O๖ )
                                              SO๒ :  เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโซ่อุปทานสินค้าเกษตร ( S๖ +

                                                     S๗ + O๕ )






                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88