Page 109 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 109

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              90





                       ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์            ตัวชี้วัด                    กลยุทธ์
                   ๒.  การอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้ าเพื่อสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานภาคเกษตรกรรมให้เข้มแข็ง
                     ๒.๑ พัฒนากระบวนการอนุรักษ์ดินและ  •  พื้นที่เกษตรกรรมได้รับการ  •  กลยุทธ์ที่ ๒ ขับเคลื่อนการ
                         น้ าและปรับปรุงดินในพื้นที่จังหวัด  อนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อปูองกันการ  พัฒนาพื้นที่ท าการเกษตรให้มี
                         ชายแดนภาคใต้ให้สอดคล้องกับ     ชะล้างพังทลายของดิน           ความอุดมสมบูรณ์
                         สภาพพื้นที่                 •  พื้นที่เกษตรกรรมที่ได้รับการ  •  กลยุทธ์ที่ ๓บูรณาการฟื้นฟู
                                                        จัดการและฟื้นฟูทรัพยากรดิน    ระบบการบริหารจัดการ
                                                                                      อนุรักษ์ดินและน้ าให้เกิด
                                                                                      เอกภาพและประโยชน์สูงสุด
                   ๓. น้อมน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมให้เกิดความยั่งยืน
                     ๓.๑ เกษตรกรน าความรู้ปรัชญาเศรษฐกิจ •  ร้อยละความส าเร็จของโครงการ  •  กลยุทธ์ที่ ๔ ส่งเสริมและ
                         พอเพียงเพื่อในการการพัฒนาที่ดิน  พัฒนาที่ดินอันเนื่องจาก     พัฒนาการประกอบอาชีพของ
                         ภาคเกษตรกรรม                   พระราชด าริ                   เกษตรกรโดยใช้ปรัชญา
                                                     •  จ านวนกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรที่  เศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้อง
                                                        ได้รับการพัฒนาเข้าสู่การรับรอง  กับความต้องการของ
                                                        มาตรฐานเกษตรอินทรีย์          เกษตรกร
                                                     •  ร้อยละความส าเร็จของโครงการ
                                                        ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินตาม
                                                        แนวเศรษฐกิจพอเพียง
                   ๔. การสร้างและพัฒนาภาคืเครือข่ายพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมบนรากฐานของการมีส่วนร่วม
                     ๔.๑ ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายพัฒนา  •  จ านวนกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรที่  •  กลยุทธ์ที่ ๕ เกษตรกรเข้าถึง
                         ที่ดินให้มีศักยภาพ             ได้รับการพัฒนา                การบริการงานพัฒนาที่ดิน
                     ๔.๒ ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาที่ดินในท้องที่  •  ร้อยละของหมอดินอาสาและกลุ่ม  อย่างทั่วถึง
                         ผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมของ  เกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาอย่าง
                         ชุมชนเกษตรกร                   ต่อเนื่อง
                     ๔.๓ เผยแพร่องค์ความรู้การพัฒนาที่ดินสู่  •  จ านวนเครือข่ายองค์กรความ
                         เกษตรกรท้องถิ่น                ร่วมมือต่างๆด้านการพัฒนาที่ดิน
                                                        ที่สร้างขึ้น

                  ๕.๗ ความเชื่อมโยงของร่างแผนยุทธศาสตร์ฯที่ผ่านการทบทวนแล้วกับทิศทาง นโยบาย และแผน
                  ยุทธศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

                            หลังจากได้ร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ ที่ผ่านการทบทวนจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว ผู้วิจัยได้ด าเนินการ
                  วิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ นั้นกับแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
                            (๑) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙)

                            (๒) แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙)
                            (๓) แผนยุทธศาสตร์กรมพัฒนาที่ดินช่วงแผนชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙)
                            (๔) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่เกี่ยวข้องกับภาระกิจของกรมพัฒนาที่ดิน
                  ในบริบทการพัฒนาพื้นที่เพื่อการเกษตร ดังแสดงตามแผนภาพ ๕ - ๘ และตาราง ๕ - ๒๐ ต่อไปนี้









                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114